งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ประจำปี 2552 โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย

2 โจทย์ที่กรมอนามัยต้องดำเนินการเดิม
1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย โจทย์ที่กรมอนามัยต้องดำเนินการเดิม 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” KPI 12 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

3 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA
1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย แนวคิดใหม่ที่ กรมอนามัยจะตอบโจทย์ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA หมวด 7 ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

4 กลุ่มเป้าหมาย กระทรวงนำร่องปี 2551 เพิ่มเติม ปี 2552
กระทรวงการคลัง และส่วนราชการระดับกรม ในสังกัด 9 กรม กระทรวงพลังงาน และส่วนราชการระดับกรม ในสังกัด 5 กรม กระทรวงอุตสาหกรรม และส่วนราชการ ระดับกรม ในสังกัด/ในกำกับ 8 กรม กระทรวงสาธารณสุข และส่วนราชการ ระดับกรม ในสังกัด 9 กรม 4

5 ขั้นตอนการดำเนินการตามระบบการจัดทำคำรับรองและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองระหว่างส่วนราชการระดับกระทรวงและส่วนราชการระดับกรมในสังกัด(นำร่อง) 1 2 15 16 สำนัก งาน ก.พ.ร กำหนดกรอบการประเมินผล ของกระทรวง เจรจาข้อตกลง และจัดทำ คำรับรองฯ ระดับกระทรวง ติดตามประเมินผล รอบ 6,12 เดือน ระดับกระทรวง จัดสรรสิ่งจูงใจให้ ในระดับกระทรวง ส่งผลคะแนน ให้ ก.พ.ร.รับรอง 3 5 6 8 11 14 17 กำหนดกรอบการประเมินของกรม ให้สอดคล้องกับกรอบของสำนักงาน ก.พ.ร. กรอบ 4 มิติ ปฏิทิน ขั้นตอน แบบฟอร์ม เตรียมการเจรจากับกรม วิเคราะห์ความ เหมาะ สมของ kpi , จัดทำเอกสารประกอบการเจรจา, แต่งตั้ง กก.เจรจา คณะกรรม การเจรจาข้อตกลงของกระทรวง เจรจา KPI, ค่าเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนกับผู้บริหารกรม ตรวจ สอบความถูกต้องของ คำรับรอง ตรวจสอบ KPI Template ประเมินผล วิเคราะห์ SAR รอบ 6,12 เดือน Site visit 6,12 เดือน ประเมินผล 12เดือน จัดสรรสิ่งจูงใจ กำหนดหลักเกณฑ์ และจัดสรรสิ่งจูงใจให้ส่วนราชการ ระดับกรม กระ ทรวง (นำร่อง) 7 9 10 12 13 18 4 จัดทำคำรับ รอง ผู้บริหารของกรมลงนาม คำรับรองกับกระทรวง จัดทำราย ละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) ปฏิบัติราชการ ตามคำรับรอง รายงานผล กรอก e-SAR-Card รอบ 6, 9, 12 เดือน ส่งรายงาน 6,12 เดือน จัดสรรสิ่งจูงใจให้แก่ข้าราชการในสังกัด กรม กำหนดยุทธศาสตร์ของกรม เสนอ kpi ตามแผน ยุทธศาสตร์ของกรม

6 โครงสร้างและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง
1. คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง...... แต่งตั้งโดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 2. คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการในกระทรวง...... แต่งตั้งโดย คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ในกระทรวง...... 3. คณะทำงานจัดทำคำรับรองและประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการในกระทรวง...... 4. คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการประจำกระทรวง (ค.ต.ป. ประจำกระทรวง) ค.ต.ป. ประจำกระทรวง ของกระทรวงนำร่อง

7 ระบบการจัดทำคำรับรอง
Strategy Map กท.สธ. กพร.กรม & กระทรวงต้องร่วมกันจัดทำกรอบการประเมินที่ประสานสอดคล้องกัน Strategy Map หน่วยย่อย Strategy Map กรม งาน ยุทธ ศาสตร์ งานตามพันธกิจ งานที่ได้รับมอบ หมาย ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

8 เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการปี 2552 สำหรับกรมทั่วไป
มิติ : ประสิทธิผล(45%) มิติ : ประสิทธิภาพ(20%) การบรรลุเป้าหมายระดับกระทรวง 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ (13) บรรลุเป้าหมายร่วมระหว่างกระทรวง (5) ความสำเร็จเรื่องศูนย์บริการร่วม (2) 8) ร้อยละการเบิกจ่ายงบลงทุน 9) ระบบการตรวจสอบภายใน 10) ระบบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3 2) การบรรลุเป้าหมายระดับกลุ่มภารกิจ 10 11) การประหยัดพลังงาน 3) การบรรลุเป้าหมายระดับ กรม บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรม (10) บรรลุผลผลิตตามเอกสารงบฯ (5) 12) รักษาStd.ระยะเวลาให้บริการ 4 13) ดำเนินการตามแผนพัฒนา กม. 3 ตัวชี่วัด ก.พ.ร.ปี52 4) ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ) 14) ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 5) ความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ ปชช.มีส่วนร่วม 6) การป้องกันปราบปรามทุจริต 7) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารราชการ 3 มิติ : พัฒนาองค์กร(20%) ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย มิติ : คุณภาพบริการ(15%) กพร. กรมอนามัย

9 เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการปี 2552 ที่กรมอนามัยพิจารณาแล้ว
มิติ : ประสิทธิผล(45%) มิติ : ประสิทธิภาพ(20%) การบรรลุเป้าหมายระดับกระทรวง 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ (13) บรรลุเป้าหมายร่วมระหว่างกระทรวง (5) ความสำเร็จเรื่องศูนย์บริการร่วม (2) 8) ร้อยละการเบิกจ่ายงบลงทุน 9) ระบบการตรวจสอบภายใน 2) การบรรลุเป้าหมายระดับกลุ่มภารกิจ 10 10) ระบบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 4 3) การบรรลุเป้าหมายระดับ กรม บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรม (10) บรรลุผลผลิตตามเอกสารงบฯ (5) 11) การประหยัดพลังงาน 13) ดำเนินการตามแผนพัฒนา กม. 4 ตัวชี่วัด ก.พ.ร.ปี52 4) ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ) ความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ ปชช.มีส่วนร่วม รักษาStd.ระยะเวลาให้บริการ 14) ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 6) การป้องกันปราบปรามทุจริต 7) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารราชการ 4 มิติ : พัฒนาองค์กร(20%) ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย มิติ : คุณภาพบริการ(15%) กพร. กรมอนามัย

10 การพัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ของกรมอนามัยอย่างต่อเนื่อง
6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อมความสัมพันธ์และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย

11 ภายนอก ภายใน กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหมวด 7 PMQA
ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2552 Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) A+30% กระทรวง กลุ่มภารกิจและกรมสามารถปฏิบัติราชการได้บรรลุตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ กระทรวงดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ ที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง ภายนอก Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ B% ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ พึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนราชการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ ไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของ ส่วนราชการลดลง Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ C+7% การเบิกจ่าย งบลงทุนที่มี ประสิทธิภาพ การใช้ พลังงานมี ประสิทธิภาพ บุคลากรเข้าร่วม กิจกรรมสนับสนุน ชุมชนที่สำคัญ กระบวนงานสร้างคุณค่า และ กระบวนงานสนับสนุน ที่ได้ดำเนินการ ตามมาตรฐาน SOP (2 ตัว) ภายใน Learning and Growth Perspective การพัฒนาองค์กร 20% บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีดสมรรถนะ ตามแผนพัฒนาบุคลากร ระบบฐานข้อมูลสนับสนุน ยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย ระบบการกำกับ ดูแลองค์กรที่ดี Strategy Map /Balanced Scorecard หมายเหตุ ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย : ตัวชี้วัด Tailor madeโดยการเจรจา ข้อตกลง หรือ Top Down จากกระทรวง : ตัวชี้วัด ภาคบังคับ 11 กพร. กรมอนามัย

12 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) A(15)+30% กระทรวง กลุ่มภารกิจและกรมสามารถปฏิบัติราชการได้บรรลุตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ กระทรวงดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ ที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง ภายนอก Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ B=15% ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ พึงพอใจ/ไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนราชการ Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ C(13)+7% การบริหารงบที่มีประสิทธิภาพ กระบวนงานสร้างคุณค่า และกระบวนงานสนับ สนุน ได้ดำเนินการตามมาตรฐาน SOP บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมสนับสนุนชุม ชนที่สำคัญ การ ประหยัด พลังงาน การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร การแก้ไขกฎ หมาย ภายใน การเบิกจ่าย งบลงทุน ระบบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต Learning and Growth Perspective การพัฒนาองค์กร 20% บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีดสมรรถนะ ตามแผนพัฒนาบุคลากร ระบบฐานข้อมูลสนับสนุน ยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย ระบบการกำกับดูแลองค์กรที่ดี การป้องกันทุจริต การตรวจสอบภายใน Strategy Map /Balanced Scorecard หมายเหตุ ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย : ตัวชี้วัด Tailor madeโดยการเจรจา ข้อตกลง หรือ Top Down จากกระทรวง : ตัวชี้วัด ภาคบังคับ : ตัวชี้วัดระบบงานกลาง : ตัวชี้วัดร่วมที่รองรับยุทธศาสตร์ 12

13 แผนที่ยุทธศาสตร์กรมอนามัย
วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 องค์กรมีการบริหาร จัดการที่ดี PMQA score (75% ของคะแนนเต็ม) ประสิทธิผล ตามพันธกิจ ผู้รับบริการและภาคีเครือข่ายมีความพึงพอใจในสินค้าและบริการ หน่วยงานในสังกัดพึงพอใจการใช้ PMQA ในการบริหารจัดการองค์กร การให้บริการ คุณภาพ การบริหารทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ ระบบการสร้างความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย การปรับปรุงกฎหมาย ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ การเบิกจ่ายงบลงทุน การประหยัดพลังงาน บุคลากรเข้า ร่วมกิจกรรม สนับสนุนชุมชน ที่สำคัญ กระบวนงานสร้าง คุณค่าและกระบวนงาน สนับสนุน ดำเนินการ ตามมาตรฐาน SOP บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีด สมรรถนะรองรับ ยุทธศาสตร์ ระบบฐานข้อมูล สนับสนุนยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย ระบบการกำกับดูแลองค์กรที่ดี PMQA การพัฒนา องค์กร การตรวจสอบภายใน การป้องกันทุจริต (เปิดเผยข้อมูล) ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย

14 ความรู้สึกในการดำเนินการ PMQA
ทำอย่างไร จะทำให้ PMQA เป็นส่วนหนึ่งของงานประจำ (Build in)อย่างเป็นเนื้อเดียวกัน ?? 2. PMQA เป็นเครื่องมือที่ดี สามารถประยุกต์ใช้กับงานได้ แต่อย่ามาตีกรอบความคิด โดยเฉพาะ Template ได้ไหม ? ต้องกำหนด ให้เจ้าภาพยุทธศาสตร์เป็นหลัก/ตัวตั้ง 3. หน่วยงานหลัก รู้สึกว่า PMQA เป็นภาระ เพราะเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ที่ต้องทำ ? 4. หน่วยงานสนับสนุน พยายามจะขับเคลื่อน แต่ไม่ได้รับความสนใจจาก หน่วยงานหลัก ไม่รู้จะทำอย่างไร ? ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

15 การเชื่อมโยง PMQA เข้ากับงานประจำ
หมวด 3 ความต้องการของ C/SH. นโยบายรัฐบาล/กท.สธ. สภาพปัญหา HP./Env.H. หมวด 1 การนำองค์กร กำกับดูแลตัวเองที่ดี Vision / Mission / Share value OFI องค์กร การวิเคราะห์ความเสี่ยง หมวด 2 แผนยุทธศาสตร์ SLM./Obj./KRI./Target/Strategy การถ่ายทอดเป้าหมาย(KPI) สู่หน่วยงาน (SMหน่วยย่อย) หมวด 6 การปรับกระบวนงานหลัก/สนับสนุน หมวด 5 การวางระบบงาน / HRD./การประเมินบุคคล/กระบวนทัศน์ค่านิยม/ธรรมจรรยา หมวด 4 การวัด ระบบสารสนเทศ และ ระบบ KM. ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย คำรับรอง หมวด 7 ผลลัพธ์ 4 มิติ กพร. กรมอนามัย

16 บทบาทของเจ้าภาพหมวด/ยุทธศาสตร์
เจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพระบบ 1.กำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับนโยบายกระทรวง/กรม 1.กำหนดเป้าหมายการพัฒนาระบบที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์กรม อ./ส.กพร./PMQA สนับสนุน 2.วางกลไกการพัฒนาระบบ 2.จัดทำSLM/ St. map กรม 4.แผนRM/ ผลกระทบ(-) 3.กำหนดบทบาท 3.จัดทำSLM/St. map หน่วยงาน 3.1 หน่วยงาน เจ้าภาพเอง 3.2 หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 5.กบง.หลัก 6.ระบบงาน 4.แผนปฏิบัติ & สนับสนุน 7.IS 8.HRD 9.CRM 5.แผนการประเมินผล(A3) 10.แผนKM ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

17 การพัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ของกรมอนามัยอย่างต่อเนื่อง
6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อมความสัมพันธ์และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย

18 เกณฑ์การประเมินเรื่อง PMQA ปี 2552
ลำดับ เกณฑ์ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์กร 2 หมวด (บังคับหมวด 3 และเลือกอีก 1 หมวด) - ร้อยละของจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ PMQA ที่ยอมรับได้ ของหมวดนั้น หมวดละ 4 คะแนน) - ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักใน การบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการ ดำเนินการตามแผน (2 แผนงานๆละ 2 คะแนน) 8 4 2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพฯที่ยอมรับได้ (หมวด 7) 3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความครบถ้วนของการประเมินองค์กร (90 คำถาม) และการจัดทำแผนพัฒนาองค์กร (ปี 53 รายหมวด 2 หมวด) รวมคะแนนร้อยละ 20 ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

19 ระบบงานในหมวด 1 วัตถุประสงค์
เพื่อให้การนำองค์กรสามารถกำหนดทิศทาง กำกับดูแลตนเองที่ดี มีการสื่อสาร ทบทวนและพัฒนาระบบ มีความรับผิดชอบต่อสังคม และดำเนินการอย่างมีจริยธรรม ระบบงานการนำและกำกับดูแลองค์กรที่ดี รวมทั้ง -นโยบาย GG.4ด้าน -จัดการผลกระทบทางลบ -การดูแลชุมชนสำคัญ -การพัฒนาจริยธรรม -รัฐ/สังคม/สวล. -ปชช.(ผู้รับริการ) -ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย -ผู้ปฏิบัติ 1 1.การกำหนดวิสัยทัศน์/ค่านิยม/ยุทธศาสตร์ 2 การสื่อสารสู่บุคลากร 5.นำผลทบทวนไปปรับปรุง 2.การถ่ายทอดสู่หน่วยงาน -ระบบงาน -มอบหมายงาน -สร้างบรรยากาศ -กระจายอำนาจ ใช้ที่ประชุมกรม ให้มีการประชุมหน่วยงาน พร้อมสรุปราย งานการสื่อสาร 4.การทบทวน 3.การติดตามกำกับดูแล -ระบบงาน -สร้างบรรยากาศ -กระจายอำนาจ ทุกรอบปีงบฯ ทุกรอบปีงบฯ จัดทำแผนความเสี่ยง -การเงิน -การเปิดเผยข้อมูล -การป้องกันทุจริต ติดตามกำกับผลงานทุกเดือนในที่ประชุมกรม 12 ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

20 ระบบงานในหมวด 2 วัตถุประสงค์
เพื่อให้กรมฯมีแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องเป้าหมายยุทธศาสตร์ของกระทรวง รัฐบาล และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีระบบการถ่ายทอดเป้าหมายอย่างเป็นระบบ 3 ระบบการจัดทำแผนและการถ่ายทอด ปัจจัยภายนอก(นโยบาย/สถานการณ์) ปัจจัยภายใน(OFI) ความต้องการของ C /SH ความท้าทายขององค์กร สื่อสาร/KMบุคลากร St. Analysis St. Direction Setting 2 12 แผน RM ระดับองค์กร/กลยุทธ์ St. Formulation จัดทำ St.Map กรม จัดทำ St.Map หน่วยงาน KPI กลุ่ม/ฝ่าย/บุคคล คำรับรอง Cascading 8 9 หมวด 5 ระบบ HRM ระบบรายงาน/ประเมินผล St. Implementation ระบบงาน – โครงสร้าง ระบบยกย่อง/ชมเชย ระบบสรรหา/รักษา HR ระบบ HRD(พัฒนาบุคคล) ผลการทบทวน/ผลประเมิน ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

21 ระบบงานในหมวด 3 วัตถุประสงค์
เพื่อให้กรมฯมีระบบการเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(C/SH) ช่องทางการสื่อสารแบบ 2 ทาง และมีการวัดความพึงพอใจของ C/SH 4 ระบบการเรียนรู้ความต้องการของ C/SH 5 ระบบคณะ กก.ที่ปรึกษาภาค ปชช. การแต่งตั้งคณะที่ปรึกษา การร่วมคิดเสนอความเห็น ร่วมกำหนดเป้าหมาย ร่วมดำเนินการ/กำกับ ร่วมประเมิน&ตรวจสอบ จำแนก C/SH ทุกกลุ่ม การสำรวจ (ทุก 2 ปี) Focus Group (ทุกปี) ประเมินผล หลังบริการ (ทุกครั้ง) 6 ระบบ ITเชื่อมโยงกับหมวด4 2 ปรับปรุงกระบวน งานสร้างคุณค่า (หมวด6) ช่องทาง การสื่อสาร 2 ทาง 11 การวัดความพึงพอใจและความต้องการของ C/SH พัฒนางาน/ยุทธ ศาสตร์ กำหนด Std./วิธีการ/ระยะเวลาการให้บริการ ประกาศ/ คู่มือ/แผนภูมิการให้บริการ ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

22 ระบบงานในหมวด 4 วัตถุประสงค์
เพื่อให้กรมฯมีระบบฐานข้อมูล สารสนเทศที่สามารถวัด วิเคราะห์ผลงาน เพื่อรองรับการตัดสินใจด้านบริหารและการปรับปรุงพัฒนาระบบงานในหมวดต่างๆ รวมทั้งมีการจัดการความรู้(KM)สนับสนุนยุทธศาสตร์ 12 Back up/Recovery IT contingency plan Security system Access Right จำแนก LI/จัดลำดับ/เชื่อมโยง เวลา/ความถี่ในการตรวจ ระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบ warning system เพื่อรับรู้ปัญหาที่ทันกาล 7 จัดทำแผน KM(3เรื่อง)รองรับยุทธศาสตร์&นำไปปฏิบัติ รองรับผลงานตามแผนยุทธศาสตร์ รองรับผลงานตามแผนปฏิบัติการ รองรับผลตามคำรับรอง ระบบฐานข้อมูล (ครอบคลุม/ถูกต้อง/ทันสมัย) 6 รองรับกระบวนงานสร้างคุณค่า รองรับกระบวนงานสนับสนุน ระบบสารสนเทศรองรับC/SH และ บุคลากร (หมวด 3 หมวด 1 สื่อสารภายในองค์กร) Moduleอื่นๆ(งบ/บุคคล/พัสดุ/ข้อมูลกลาง) วิเคราะห์ LIเพื่อการวางแผน / ปรับปรุงแผน ทบทวน กบง.หลักและสื่อสารบุคลากรเพื่อการปรับปรุง กำหนด Std./วิธีการ/ระยะเวลาการให้บริการ ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

23 ระบบงานในหมวด 5 วัตถุประสงค์
เพื่อให้กรมฯมีระบบงานและระบบบริหารทรัพยากรบุคคลที่สามารถสนับสนุนยุทธศาสตร์ขององค์กร และสามารถสร้างความก้าวหน้าและตอบสนองความพึงพอใจและความผาสุกของบุคลากรได้ 8 9 ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) 10 ระบบงานรองรับยุทธศาสตร์ ระบบสร้างความพึงพอใจ/ความผาสุก การจัดทำ JD/คุณลักษณะ /Competency (รายบุคคล /ตำแหน่ง) การวางระบบ Career Path การสำรวจ เพื่อกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก การปรับปรุงสภาพ แวดล้อมในการทำงาน การสนับสนุนด้านนโยบาย สวัสดิการ และบริการ การปรับปรุงด้านความผาสุกและการสร้างแรงจูงใจ วางระบบงาน & คน ตามยุทธศาสตร์ โครง สร้าง ข้อจำกัดของบุคคล 3.การจัดทำ HRD plan IDP (ตามยุทธศาสตร์องค์กร &ความต้องการบุคคล) 4.การประเมินประสิทธิผลการพัฒนาบุคลากรเพื่อปรับปรุง การสร้างบรรยากาศ & การจัดKM/ลปรร. 7 5.การจัดระบบประเมินบุคคล (KPI + Competency) ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

24 ระบบงานในหมวด 6 วัตถุประสงค์ กพร. กรมอนามัย
เพื่อให้กรมฯมีกระบวนงานสร้างคุณค่าที่ตอบสนองต่อภารกิจหลักและยุทธศาสตร์ขององค์กร และมีคุณภาพมาตรฐานด้านความรวดเร็ว ลดขั้นตอน ประหยัด และคุ้มค่า มีผลิตภาพสูง โดยรวมถึงกระบวนการสนับสนุนด้วย ระบบการพัฒนากระบวนงานสร้างคุณค่า/สนับสนุน 11 วัตถุประสงค์การควบคุม การคุ้มค่าของการควบคุม ความทันการณ์ในการติดตาม/การบอกเหตุ ความสม่ำเสมอการควบคุม การจูงใจในการปฏิบัติงาน 1.การกำหนดกระบวน งานสร้างคุณค่า แผน RM หลัก Value Creation Analysis. หลัก Impact Analysis. (วิเคราะห์กระบวนงานระดับวิสัยทัศน์ & ระดับปฏิบัติ) 8.การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 2.การเชื่อมโยงกระบวนงานสร้างคุณค่า (Value Chain) 12 7.การปฏิบัติ 9.การตกลง กับกรมอื่น (Joint Process) P-D-C-A 3.การกำหนด “ข้อกำหนดสำคัญ” (จากหมวด3) 6.สื่อสารสู่บุคลากร 5.จัดทำ Flow Chart & มาตรฐานงาน (คู่มือ) 4.Process Design (ต้องมีIndicator ควบคุม กบง.) ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

25 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) กระทรวง กลุ่มภารกิจและกรมสามารถปฏิบัติราชการได้บรรลุตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ กระทรวงดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ ที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง ภายนอก Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ พึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนราชการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ ไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของ ส่วนราชการลดลง Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ การเบิกจ่าย งบลงทุนที่มี ประสิทธิภาพ บุคลากรเข้าร่วม กิจกรรมสนับสนุน ชุมชนที่สำคัญ กระบวนงานสร้างคุณค่า และ กระบวนงานสนับสนุน ที่ได้ดำเนินการ ตามมาตรฐาน SOP (2 ตัว) ภายใน Learning and Growth Perspective การพัฒนาองค์กร บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีดสมรรถนะ ตามแผนพัฒนาบุคลากร ระบบฐานข้อมูลสนับสนุน ยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย ระบบการกำกับ ดูแลองค์กรที่ดี Strategy Map /Balanced Scorecard หมายเหตุ ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย : ตัวชี้วัด Tailor madeโดยการเจรจา ข้อตกลง หรือ Top Down จากกระทรวง : ตัวชี้วัด ภาคบังคับ 25 กพร. กรมอนามัย

26 สรุประบบบริหารงานทั้งหมด
ระบบการกำกับดูแลองค์การที่ดี 1 ระบบ RM 12 ระบบการเรียนรู้ความต้องการของ C/SH 4 ระบบคณะ กก.ที่ปรึกษาภาค ปชช. 5 การสื่อสารสู่บุคลากร 2 ระบบแผนงาน และถ่ายทอด 3 ระบบ KM ระบบ ฐานข้อมูล 6 7 ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) 9 ระบบงานรองรับยุทธศาสตร์ 8 ระบบการพัฒนากบง.สร้างคุณค่า/สนับสนุน 11 ระบบสร้างความพึงพอใจ/ความผาสุก 10 ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

27 ลำดับความสำคัญโอกาส ในการปรับปรุงองค์กร 3 ลำดับแรกของหมวด 1- 6 ปี 2551
ลำดับความสำคัญโอกาส ในการปรับปรุงองค์กร 3 ลำดับแรกของหมวด 1- 6 ปี 2551 ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย

28 หมวด 1 กพร. กรมอนามัย ลำดับ OFI 1.1
- การทบทวนการจัดลำดับความสำคัญผลการดำเนินงาน เพื่อนำมาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและก้าวกระโดด 1.2 - การนำผลการประเมินและทบทวนผลการดำเนินงานมาใช้ปรับปรุงและตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง - ทบทวนความเหมาะสมและครอบคลุมของตัวชี้วัด 1.3 - นำความต้องการและความคาดหวังของ S/H มาเป็นข้อมูลนำเข้าในการกำหนดทิศทางองค์กรอย่างเป็นระบบ - การติดตาม ทบทวน และนำผลการทบทวนไปใช้ประโยชน์ทั่วทั้งองค์กร - การประเมินผลการสื่อสารเรื่องวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ผลการดำเนินงานที่คาดหวังไว้ - การสร้างค่านิยมร่วมขององค์กร ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

29 หมวด 2 หมวด 3 กพร. กรมอนามัย ลำดับ OFI 2.1
การจัดทำแผนการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ 2.2 ยังไม่มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติประจำปี 2.3 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์หลัก โดยให้ความสำคัญกับความท้ายทายต่อองค์กรในด้าน พันธกิจและด้านปฏิบัติการเพียงบางส่วนยังไม่ครอบคลุมทุกด้าน หมวด 3 ลำดับ OFI 3.1 วิธีการในการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวังหลักๆของ S/H แต่ละกลุ่มไม่เป็นระบบ 3.2 วิธีการทบทวนและปรับปรุงวิธีการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการและคาดหวังของ S/H 3.3 วิธีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อร้องเรียนทั้งหมดเพื่อใช้ในการปรับปรุงกระบวนการจัดการข้อร้องเรียน ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

30 หมวด 4 หมวด 5 กพร. กรมอนามัย ลำดับ OFI 4.1
พัฒนาระบบวัดผลของตัวชี้วัดกรมอนามัย 4.2 พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารกรมอนามัย เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร และสนับสนุนนวัตกรรม 4.3 พัฒนาระบบติดตามประเมินผลของกรมอนามัย (M & E) หมวด 5 ลำดับ OFI 5.1 ระบบการประเมินผลที่เป็นระบบเดียวกันทั่วทั้งองค์กร รวมถึงหลักเกณฑ์และวิธีการยกย่องชมเชยการให้รางวัลและสิ่งจูงใจที่ชัดเจนเป็นระบบ 5.2 การกำหนดปัจจัยด้านความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจของบุคลากรเพื่อจัดสวัสดิการให้ตรงความต้องการ 5.3 การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงานให้แก่ข้าราชการ แต่ยังไม่ครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งการเตรียมบุคลากรยังไม่เป็นระบบที่ชัดเจน ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

31 หมวด 6 กพร. กรมอนามัย ลำดับ OFI 6.1
การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน ที่ครอบคลุมพันธกิจขององค์กรและความต้องการของ S/H 6.2 ยังไม่มีการนำ SOP ไปปฏิบัติอย่างทั่วทั้งองค์กร 6.3 มีการกำหนดวิธีการประเมินผลการใช้ SOP แต่ยังไม่ได้สร้างเครื่องมือประเมินผลการปฏิบัติงานตาม SOP ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

32 กลไกการดำเนินงาน PMQA กรมอนามัย (เดิม)
คณะกรรมการอำนวยการ คณะ กก. PMQA หมวด 1 2 3 4.1 6 4.2 5 7 คณะกรรมการ PMQA (Fast Track) (7+19 คน) สำนัก/กอง/ศูนย์ฯ ทีม PMQAของหน่วยงานย่อย สนับสนุน/ช่วยเหลือ ประเมินตนเองรายหมวด(รอบ 1) ปรับปรุง OFI ภาพรวมตามหมวด1-6 ดำเนินการตาม KPI 12 (RM/ICT/KM / HRP) ให้ความร่วมมือ /ร่วมประชุม ประเมินตนเองรายหมวด (รอบ 2) ประเมินตนเอง ผลลัพธ์การพัฒนาองค์กรตามเกณฑ์ PMQA(KP12) การจัดทำแบบฟอร์ม 1-7 พัฒนาPMQA ทั่วทั้ง องค์กร ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

33 ข้อเสนอกลไกการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552
ปรับบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ให้กับหน่วยงานเจ้าภาพ หรือ Process Owner ในทุกเรื่อง การประชุมกรมฯ คณะกรรมการ กพร. กรมอนามัย คำรับรอง พัฒนาPMQA คณะกรรมการอำนวยการ CCO/ผู้บริหารหน่วยเจ้าภาพ (กพร.เป็นเลขาฯ) มีวาระเสนอทุกเดือน กองแผนงาน หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงานเจ้าภาพ/ Process Owner คณะ Fast Track (10-15 คน) Facilitator คกก.จัดทำแผน กลยุทธ์ หน่วยงานย่อย คณะ กก. (ตามจำเป็น) หน่วยงานย่อย คณะ กก. PMQA หมวด 1 2 3 4.1 6 4.2 5 7 ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

34 ประเด็นที่นำเสนอเพื่อพิจารณา
ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม กรมอนามัย เป้าหมายการการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย (รางวัล PMQA) Strategy Map กรมอนามัยที่เป็นเอกภาพ ระบบ และ กลไกการดำเนินการ PMQA กรมอนามัย 5. หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ และ ระบบบริหารงานกลาง 6. Road Map ในการดำเนินการ กพร. กรมอนามัย ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย

35 สวัสดี ศุมล ศรีสุขวัฒนา กพร.กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย


ดาวน์โหลด ppt โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google