นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
นายสุเมธ มีนาภา ผู้อำนวยการกองแผนงาน. อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 24 พนักงาน ราชการ 77 ลูกจ้าง 33 รวม 34 ปฏิบัติ หน้าที่ กลุ่ม พัฒนาฯ 1. นายเกษม โคเลิศ นักวิเคราะห์
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย โครงการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศอย่างมีส่วนร่วม พ.ศ. 2561-2570 (10 Years National PP Excellence Strategic Plan) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย

เนื้อหาการนำเสนอ ความเป็นมา หลักการและเหตุผล เป้าหมายที่วัดสัมฤทธิผล หรือประเมินผลได้ (ตัวชี้วัดสำคัญ) วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและเป้าหมาย พื้นที่ดำเนินการและกลุ่มเป้าหมาย /ระยะเวลาของโครงการ แผนการดำเนินงาน (Timeline) การบริหารโครงการ งบประมาณ การกำกับติดตาม ประเมินผล ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ความเป็นมา หลักการและเหตุผล “การเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้มีเพิ่มมากขึ้นในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา” กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก Source : thaihealth Source : chaoprayanews Source : http://geographyofaroundtheworld.blogspot.com/2014/08/1_13.html Source : http://www.okmd.or.th เศรษฐกิจและการเมือง Source : paolohospital.com “โรคที่มีอุบัติการณ์ขึ้นมาใหม่ เช่น อุจจาระร่วง ไข้เลือดออก วัณโรค เอดส์ เลปโตสไปโรสีส ” สังคม (สังคมเมือง/สังคมผู้สูงอายุ/โทรคมนาคม) Source : http://ชี้ช่องรวย.com Source : http://news.mthai.com พฤติกรรมการบริโภค เทคโนโลยี “การสูญเสียปีสุขภาวะ (DALYs) จากโรคไม่ติดต่อสูงกว่าโรคติดต่อกว่า 5 เท่าในเพศชาย และมากกว่า 8 เท่าในเพศหญิง” Surce : CLICK-END ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม “ภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพ” “ปัญหามลพิษทางอากาศ น้ำเสีย สิ่งปฏิกูลและมูลฝอย”

ความเป็นมา หลักการและเหตุผล นโยบายรัฐบาล “Thailand 4.0” source : https://www.thailand-business-news.com http://www.nengnengneng.net/archives/5401 รองรับสังคมเมืองและสังคมผู้สูงอายุ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี(ด้านสาธารณสุข) เพิ่มอายุคาดเฉลี่ยของคนไทย (Life Expectancy) ให้ได้ 85 ปี และ อายุคาดเฉลี่ยการมีสุขภาพดี (Health Adjusted Life Expectancy) ให้ได้ 72 ปี โครงการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศอย่างมีส่วนร่วม พ.ศ. 2561-2570 (10 Years National PP Excellence Strategic Plan) จัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ พ.ศ. 2561-2570 อย่างมีส่วนร่วม มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล พัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงสาธารณสุข สื่อสารและผลักดันสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง อันจะส่งผลต่อการมีสุขภาวะของประชาชน การลดภาระการเงินการคลังของประเทศ และสามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชนได้อย่างยั่งยืน 4/15

เป้าหมายที่วัดสัมฤทธิผลหรือประเมินผลได้ (ตัวชี้วัดสำคัญ) ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลตนเองและคนในสังคมได้ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ส่งผลให้ระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคยั่งยืน และสร้างผลิตภาพให้กับประเทศ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีแนวทางการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของประเทศไทย 2. ประชาชนได้รับการส่งเสริมสุขภาพและคุ้มครองสุขภาพจากโรคภัยต่างๆ 3. ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลตัวเอง คนใกล้ชิดได้ และคนในสังคมได้ เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในการดูแลตัวเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ตัวชี้วัดและเป้าหมาย มีแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ (PP Excellence) พ.ศ. 2561-2570 จำนวน 1 ฉบับ 2. มีแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ (PP Excellence) ในพื้นที่ระดับภาคและ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2561 -2570 จำนวน 5 ฉบับ 3. บุคลากรและภาคี เครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริม สุขภาพและป้องกันโรค 4 ภาคและกทม. 4. มีโครงสร้างและกลไกการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สู่ความเป็นเลิศ พ.ศ. 2561 -2570 (10 Years National PP Excellence Strategic Plan) ระดับ ส่วนกลางและระดับภาค 2 ระดับ พื้นที่ดำเนินการและกลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ดำเนินการ : เขตสุขภาพที่ 1-12 และ กทม. กลุ่มเป้าหมาย : บุคลากรสาธารณสุขทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค และภาคีเครือข่าย ระยะเวลาของโครงการ ตุลาคม 2559 - กุมภาพันธ์ 2561

แผนการดำเนินงาน ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 โครงการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ อย่างมีส่วนร่วม พ.ศ. 2561-2570 (10 Years National PP Excellence Strategic Plan) Source: http://gaffneybusiness.com Phase 1 การเตรียมการดำเนินงาน Phase 2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ระดับภาคและกทม. Phase 4 การเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา และขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ Phase 3 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯระดับประเทศ กำหนดกรอบการดำเนินงาน/ Timeline อนุมัติโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ระดับภาค และกรุงเทพมหานคร จัดหาทีมผู้เชี่ยวชาญ ศึกษา ทบทวนสถานการณ์ กำหนดกรอบทิศทางแผนยุทธศาสตร์ ชี้แจงกรอบยุทธศาสตร์ และพัฒนาศักยภาพทีม ตั้ง คทง.ระดับภาคและ กทม. ประชุมคณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/คณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ เพื่อให้เห็นชอบ/ข้อเสนอแนะ ปรับปรุงร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ จัดทำร่างแผนระดับภาคและกทม. ประชุมรับฟังความคิดเห็นร่างแผน (RPPESP Forum) กระบวนการ เสนอ ครม. เสนอแผนยุทธ ศาสตร์ ฯ ผ่าน กสธ. ปรับปรุง ยกร่างแผน ระดับ ประเทศ แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนและกำกับติดตามแผนยุทธศาสตร์ ศึกษา ทบทวนสถานการณ์สุขภาพระดับพื้นที่ ปรับปรุงร่างแผนระดับภาคและกทม. NPPESP Forum ปรับปรุงร่างแผน จัดทำสื่อเผยแพร่และพิมพ์เล่มแผนยุทธศาสตร์ฯ ประกาศแผนยุทธศาสตร์ฯระดับประเทศ ต.ค. 59 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 60 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 61 กรมอนามัย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมควบคุมโรค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กรมสุขภาพจิต คณะกรรมการอำนวย การจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ทีมผู้เชี่ยว ชาญ คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ ระดับภาค และกทม. คณะทำงานในพื้นที่ระดับภาคและกทม. ทีมผู้เชี่ยวชาญ คณะกรรมการอำนวยการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ทีมผู้เชี่ยวชาญ คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ กระทรวงสาธารณสุข คณะรัฐมนตรี ผู้รับผิดชอบ ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการฯ ระดับชาติ กรมอนามัย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมควบคุมโรค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กรมสุขภาพจิต ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561

แผนการดำเนินงาน Phase 1 การเตรียมการดำเนินงาน ตุลาคม 59 พฤศจิกายน 59 การเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา และขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ Phase 3 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯระดับประเทศ Phase 1 การเตรียมการดำเนินงาน Phase 2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ระดับภาคและกรุงเทพฯ กำหนดกรอบการดำเนินงาน/Timeline และจัดทำโครงการจัดทำและขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ อย่างมีส่วนร่วม พ.ศ. 2561-2570 ศึกษา ทบทวนสถานการณ์สุขภาพและจัดทำกระบวนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่ายในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ประชุมคณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/ทีมผู้เชี่ยวชาญ ครั้งที่ 1 (วางแผนการดำเนินงาน + ศึกษา ทบทวนสถานการณ์สุขภาพ+จัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ + จัดกระบวนการ + ให้ความรู้เรื่องการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ กำหนดโครงสร้าง/ทีมดำเนินงาน ประชุมหารือกำหนดโครงสร้าง/ทีมดำเนินงาน เสนอแต่งตั้ง คณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ระดับภาค และกทม. จัดหาทีมผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนากระบวนการดำเนินงานและทบทวนสถานการณ์สุขภาพ กำหนดกรอบทิศทางแผนยุทธศาสตร์ฯ ประชุมคณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/ทีมผู้เชี่ยวชาญ ครั้งที่ 2 (ร่างกรอบทิศทางแผนยุทธศาสตร์ฯ) ประชุมคณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ (มอบนโยบายและกรอบทิศทางแผนยุทธศาสตร์ฯ) ประชุมหารือกำหนดกรอบการดำเนินงานระหว่างหน่วยงานเจ้าภาพหลัก ร่างโครงการและเสนอขออนุมัติโครงการฯ ชี้แจงกรอบยุทธศาสตร์ฯ และพัฒนาศักยภาพทีมการดำเนินงาน ประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงนโยบาย กรอบทิศทางแผนยุทธศาสตร์ฯ และพัฒนาศักยภาพทีมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ตุลาคม 59 พฤศจิกายน 59 ธันวาคม 59 มกราคม 60 กรมอนามัย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมควบคุมโรค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมสุขภาพจิต คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/ทีมผู้เชี่ยวชาญ คณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ

โครงสร้างการดำเนินงานและการขับเคลื่อน คณะกรรมการอำนวยการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สู่ความเป็นเลิศ (PP Excellence) พ.ศ. 2561-2570 ประธาน » ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เลขานุการ » อธิบดีกรมอนามัย คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สู่ความเป็นเลิศ (PP Excellence) พ.ศ. 2561-2570 ประธาน » อธิบดีกรมอนามัย เลขานุการ » ผู้อำนวยการกองแผนงาน กรมอนามัย คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ (PP Excellence) ในพื้นที่ ระดับภาคและกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2561-2570 ประธาน » ผู้ตรวจราชการกระทรวงเขตสุขภาพ (ภาคเหนือ) 1 เขต เลขานุการ » ผู้อำนวยการศูนย์อนามัย (ภาคเหนือ) 1 ศูนย์ ภาคเหนือ ประธาน » ผู้ตรวจราชการกระทรวงเขตสุขภาพ (ภาคกลาง) 1 เขต เลขานุการ » ผู้อำนวยการศูนย์อนามัย (ภาคกลาง) 1 ศูนย์ ภาคกลาง ประธาน » ผู้ตรวจราชการกระทรวงเขตสุขภาพ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) 1 เขต เลขานุการ » ผู้อำนวยการศูนย์อนามัย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ) 1 ศูนย์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประธาน » ผู้ตรวจราชการกระทรวงเขตสุขภาพ (ภาคใต้) 1 เขต เลขานุการ » ผู้อำนวยการศูนย์อนามัย (ภาคใต้) 1 ศูนย์ ภาคใต้ ประธาน » รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประธานร่วม » รองปลัดกรุงเทพมหานคร เลขานุการ » ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักอนามัย กทม. กทม.

แผนการดำเนินงาน Phase 2 การเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา และขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ Phase 2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ระดับภาคและกรุงเทพมหานคร Phase 3 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯระดับประเทศ Phase 1 การเตรียมการดำเนินงาน จัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ระดับภาคและกทม. กำหนดกรอบและ วางแผนการดำเนินงานในพื้นที่ระดับภาคและกทม. ศึกษา ทบทวนสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ระดับภาคและกทม. ประชุมคณะทำงาน (วิเคราะห์ ปรับปรุงร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ) ประชุมคณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ (เพื่อให้ข้อแนะนำปรับร่างปรุงแผนยุทธศาสตร์ฯ) ประชุมขับเคลื่อนและรับฟังความคิดเห็นร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ (Regional Promotion and Prevention Excellence Strategic Plan Forum: RPPESP Forum) ประชุมคณะทำงาน (วิเคราะห์ ปรับปรุงร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ) เสนอแผนยุทธศาสตร์ฯ ให้คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ เสนอแผนยุทธศาสตร์ฯ ให้คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ทบทวนสถานการณ์สุขภาพระดับภาคและพื้นที่กทม. ประชุมคณะทำงาน (ศึกษา ทบทวนสถานการณ์สุขภาพระดับภาค) ประชุมคณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ (วางแผนการดำเนินงาน) แต่งตั้งคณะทำงาน 4 ภาค และ กทม. ในการดำเนินงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ประชุมเชิงปฏิบัติการยกร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ มกราคม 60 กุมภาพันธ์ 60 มีนาคม 60 เมษายน 60 คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ระดับภาค และกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2561 - 2570 คณะทำงาน 4 ภาค และกทม. คณะทำงาน 4 ภาคและกทม./คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ คณะทำงาน 4 ภาค และกทม./คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/คณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/ทีมผู้เชี่ยวชาญ คณะทำงาน 4 ภาคและกทม. คณะทำงาน 4 ภาค และกทม./คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ คณะทำงาน 4 ภาค และกทม./คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/คณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/ทีมผู้เชี่ยวชาญ คณะทำงาน 4 ภาคและกทม. คณะทำงาน 4 ภาค และกทม./คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ

แผนการดำเนินงาน Phase 3 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ระดับประเทศ พฤษภาคม 60 การเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา และขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ Phase 2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ระดับภาคและกรุงเทพมหานคร Phase 3 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ระดับประเทศ Phase 1 การเตรียมการดำเนินงาน จัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ระดับประเทศ ประชุมคณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ(วิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์ฯ ระดับภาค) ประชุมเชิงปฏิบัติการยกร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ ระดับชาติ ประชุมคณะกรรมการ(วิเคราะห์ ปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ฯ) ประชุมคณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ (ให้ข้อแนะนำปรับร่างปรุงแผนยุทธศาสตร์ฯ) ประชุมคณะกรรมการเพื่อวิเคราะห์ ปรับปรุงร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ ประชุมขับเคลื่อนและรับฟังความคิดเห็น (National Promotion and Prevention Excellence Strategic Plan Forum: NPPESP Forum) ประชุมคณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทศาสตร์ (วิเคราะห์ ปรับปรุงร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ) ประชุมคณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ (ให้ความเห็นชอบและข้อแนะนำปรับร่างปรุงแผนยุทธศาสตร์ฯ) ประชุมคณะกรรมการเพื่อวิเคราะห์ ปรับปรุงร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ พฤษภาคม 60 มิถุนายน 60 กรกฎาคม 60 สิงหาคม 60 คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/ทีมผู้เชี่ยวชาญ คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/คณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ส/ทีมผู้เชี่ยวชาญ คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/ทีมผู้เชี่ยวชาญ คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/ทีมผู้เชี่ยวชาญ คณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/คณะกรรมการวิชาการ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/ทีมผู้เชี่ยวชาญ คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/ทีมผู้เชี่ยวชาญ

แผนการดำเนินงาน Phase 4 การเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาและขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ฯ Phase 2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ระดับภาคและกรุงเทพมหานคร Phase 3 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ Phase 1 การเตรียมการดำเนินงาน เสนอแผนยุทธศาสตร์ฯ เข้าครม. คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯเสนอแผนยุทธศาสตร์ฯ ผ่านกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขเสนอแผนยุทธศาสตร์ฯ ระดับชาติ ผ่านรองนายกรัฐมนตรีและเลขาคณะรัฐมนตรี จัดทำข้อมูล และเล่มยุทธศาสตร์ฯ เพื่อเสนอ ครม. ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ ครม. เห็นชอบแผนยุทธศาสตร์ฯ ประกาศแผนยุทธศาสตร์ฯ เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการระดับชาติ เพื่อขับเคลื่อนและกำกับติดตามแผนยุทธศาสตร์ฯ จัดทำสื่อเผยแพร่และพิมพ์เล่มแผนยุทธศาสตร์ฯ กันยายน 60 ตุลาคม 60 พฤศจิกายน 60 ธันวาคม 60 มกราคม 61 กุมภาพันธ์ 61 คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/กระทรวงสาธารณสุข คณะรัฐมนตรี/คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ/กระทรวงสาธารณสุข ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการระดับชาติ กรมอนามัย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมควบคุมโรค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมควบคุมโรค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมสุขภาพจิต

คณะกรรมการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ การบริหารโครงการ คณะกรรมการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ บทบาทหน้าที่ คณะกรรมการอำนวยการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ (PP Excellence) พ.ศ. 2561-2570 กำหนดนโยบายและกรอบทิศทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ กำกับ ดูแล เสนอแนะ ให้คำปรึกษา และติดตามการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ คณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ (PP Excellence)พ.ศ. 2561-2570 ทบทวนเอกสารและข้อมูลประกอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ เสนอต่อคณะกรรมการอำนวยการฯ จัดประชุมขับเคลื่อนและรับฟังความคิดเห็น คณะอนุกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ (PP Excellence) ในพื้นที่ระดับภาคและกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2561-2570 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ กำกับ ดูแล เสนอแนะ ให้คำปรึกษา และติดตามการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในพื้นที่ระดับภาคและกรุงเทพมหานคร

การกำกับติดตาม ประเมินผล งบประมาณ ภาพรวมงบประมาณ 18 ล้านบาท 1.1 ค่าบริหารจัดการ 2,246,080 บาท (12.48%) 1.2 ค่าดำเนินกิจกรรม 15,753,920 บาท (87.52%) สัดส่วนงบประมาณระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาค 2.1 ส่วนกลาง 10,794,750 บาท (59.97%) 2.2 ส่วนภูมิภาค 7,205,250 บาท (40.03%) การกำกับติดตาม ประเมินผล กำกับติดตามความสำเร็จโดยคณะอำนวยการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ และรายงานความก้าวหน้าผ่านคณะกรรมการวิชาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯโดยบูรณาการการทำงานร่วมกันกับพื้นที่ ติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และประเมินผลลัพธ์/ผลสำเร็จของโครงการ กำหนดระยะเวลาการรายงานผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณทุก 3 เดือน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ประเทศไทยมีแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแห่งชาติสู่ความเป็นเลิศ อย่างมีส่วนร่วม พ.ศ. 2561-2570 (10 Years PP Excellence Strategic Plan) ประชาชนมีสุขภาวะสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี