นโยบายการพัฒนาด้านการเกษตรของไทย โดย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 นำเสนอประกอบการบรรยายนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ณ ห้องประชุมชูชาติ กำภู สถาบันพัฒนาการชลประทาน กรมชลประทาน
ขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ เกษตร 4.0 ภายใต้แนวคิด Thailand 4.0 เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ภายในปี 2579 เป้าหมายเกษตร 4.0 เกษตรกรมีรายได้หลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง หรือรายได้เฉลี่ยเท่ากับ หรือมากกว่า 13,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อคน (ประมาณ 390,000 – 400,000 บาทต่อคน ภายในปี 2579) ผลลัพธ์ของเกษตร 4.0
ความหมาย Thailand เกษตร 1.0 คือ เน้นการเกษตรนำประเทศ สร้างรายได้ (ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1-2) 1.0 คือ การเกษตรเน้นเพิ่มพื้นที่มากและเน้นแรงงานผลิตจำนวนมาก เน้นสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านชลประทาน (ช่วงก่อนและเริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ 1 - 2 พ.ศ. 2504 - 2514) 2.0 คือ พัฒนาเป็นอุตสาหกรรมเบา หรือหัตถกรรม ใช้เครื่องจักร เสริมแรงงานคน (แรงงานราคาถูก และใช้ทรัพยากรธรรมชาติ มุ่งผลิตทดแทนการนำเข้า เช่น อุตสาหกรรมเหล็ก ยานยนต์ เสื้อผ้า/สิ่งทอ 2.0 คือ การเกษตรที่เริ่มใช้งานวิจัยพัฒนามาใช้ในการผลิตและใช้เครื่องจักรเสริมแรงงาน (พันธุ์ข้าว พืชไร่ และปศุสัตว์) ขยายระบบชลประทาน โรงสี โรงงานแปรรูป ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 - 5 (พ.ศ. 2515 - 2529) 3.0 คือ พัฒนาด้วยอุตสาหกรรมหนัก ที่มีความซับซ้อน ใช้เงินลงทุนจากต่างประเทศ เช่น อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เชื้อเพลิง/พลังงาน (ส่งเสริม BOI และนิคมอุตสาหกรรม) 3.0 คือ การเกษตรที่เน้นผลิตเพื่อการส่งออก สร้างรายได้จากสินค้าที่มีศักยภาพ เน้นสินค้าที่มีขีดความสามารถในการแข่งขัน เช่น ข้าวหอมมะลิ ยางพารา มันสำปะหลัง สับปะรด ปศุสัตว์ (ไก่เนื้อ ไก่ไข่) ประมง (กุ้ง ทูน่า) ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 - 11 (พ.ศ. 2530 - 2559) 4.0 คือ พัฒนาประเทศเน้นนวัตกรรม และ ICT (ระบบอิเล็กทรอนิคส์) ในการขับเคลื่อนประเทศ ทุกภาคเศรษฐกิจและสังคมสู่ประเทศ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” - พ้นกับดักรายได้ปานกลาง - สังคมอยู่ดีมีสุข - ยกระดับคุณค่าคนไทยด้วยนวัตกรรมสร้างวัฒนธรรมไทยเท่ - รักษ์สิ่งแวดล้อม 4.0 คือ การเกษตรที่ใช้นวัตกรรมแบบเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ตั้งแต่การผลิต-แปรรูป-ตลาด ด้วยสินค้าที่มีความปลอดภัย ยกระดับมูลค่า ด้วยคุณภาพมาตรฐาน ประหยัดทรัพยากรน้ำ และใช้พื้นที่การเกษตร ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเชิงเศรษฐกิจและสังคม ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 - 15 (พ.ศ. 2560 - 2579)
การวิเคราะห์รายได้เกษตรกรปี 2559 และแนวโน้มปี 2560 เฉลี่ย 25,047 บาท/ครัวเรือน/เดือน ต่ำกว่ารายได้เฉลี่ยประเทศ 6.94 %
การวิเคราะห์รายได้เกษตรกรปี 2559 และแนวโน้มปี 2560 โครงสร้างรายได้เงินสดครัวเรือนเกษตร ทางการเกษตร ร้อยละ 52.36 นอกการเกษตร ร้อยละ 47.64 รายได้เงินสดครัวเรือนเกษตร ปี 2558/59 เทียบกับปี 2557/58 เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.11 รายได้เงินสดทางการเกษตร ปี 2558/59 เทียบกับปี 2557/58 เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.05 รายการ ปีเพาะปลูก 2557/58 2558/59 % รายได้เงินสดครัวเรือน 283,259 300,565 6.11 1. รายได้เงินสดทางการเกษตร 148,390 157,373 6.05 2. รายได้เงินสดนอกการเกษตร 134,869 143,192 6.17 3. รายจ่ายเงินสดทางการเกษตร 91,326 100,281 9.81 4. รายได้เงินสดสุทธิเกษตร 57,063 57,091 0.05 5. หนี้สินปลายปี 117,346 122,695 4.56
การวิเคราะห์รายได้เกษตรกรปี 2559 และแนวโน้มปี 2560 รายการ ครัวเรือนประเทศไทย (1) ครัวเรือนเกษตร (2) % รายได้ครัวเรือนเฉลี่ย (บาท/ครัวเรือน/ปี) 322,980 300,565 -6.9 1. กรุงเทพฯ และปริมณฑล (กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ) 492,024 411,264 2. ภาคกลาง 319,212 3. ภาคเหนือ 227,424 271,056 19.2 4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 253,128 254,009 0.3 5. ภาคใต้ 315,216 387,651 23.0 ภาพรวมรายได้ต่อครัวเรือนไทย พบว่า มีรายได้เฉลี่ย 322,980 บาท/ปี/ครัวเรือน โดย พื้นที่ กรุงเทพฯ และปริมณฑลมีรายได้ครัวเรือนเฉลี่ยสูงที่สุด ที่ 492,024 บาท/ปี/ครัวเรือน ส่วน ภาคเหนือมีรายได้ครัวเรือนเฉลี่ยต่ำที่สุด ที่ 227,424 บาท/ปี/ครัวเรือน ในขณะที่ ภาพรวมของครัวเรือนเกษตร พบว่า มีรายได้เงินสดเฉลี่ย 300,565 บาท/ปี/ครัวเรือน โดยคิดเป็นรายได้เงินสดทางการเกษตร ร้อยละ 52.63 และนอกการเกษตร ร้อยละ 47.64 ซึ่ง ภาคกลางมีรายได้เงินสดเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมา คือ ภาคใต้ ภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ตามลำดับ จ.นครปฐม (619,443 บาท/ครัวเรือน/ปี) เป็นแหล่งเลี้ยงสุกรที่สำคัญ และเป็นแหล่งผลิตพืชผัก อินทรีย์ ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกที่สร้างมูลค่าและรายได้ให้แก่เกษตรกร อีกทั้ง มีการใช้เทคโนโลยีการ ผลิตขั้นสูง เพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิต จ.กระบี่ (516,189 บาท/ครัวเรือน/ปี) เป็นแหล่งผลิตปาล์มน้ำมันและยางพาราที่สำคัญของประเทศ ทำการเกษตรแบบครบวงจร และมีโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบกระจายทั่วภูมิภาค จึงทำให้เศรษฐกิจ ในภูมิภาคเติบโต สามารถขายผลผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อสร้างรายได้ให้เกษตรกร จ.เพชรบูรณ์ (384,267 บาท/ครัวเรือน/ปี) เป็นแหล่งผลิตพืชไร่ เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มัน สำปะหลัง และอ้อย เป็นต้น โดย ทางจังหวัดได้มีการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชปลอดภัย ในยุทธศาสตร์ของจังหวัด ให้เป็นการผลิต GAP และ เกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น จ.นครราชสีมา (402,770 บาท/ครัวเรือน/ปี) ซึ่งเป็นแหล่งผลิตมันสำปะหลังและอ้อยโรงงานที่ สำคัญ มีศูนย์วิจัยมันสำปะหลัง เพื่อวิจัยและพัฒนาด้าน การผลิตและ การตลาดอยู่ ซึ่งช่วยพัฒนาการผลิตและการแปรรูปของสินค้ามันสำปะหลัง
การวิเคราะห์รายได้เกษตรกรปี 2559 และแนวโน้มปี 2560 GDP ภาคเกษตร ( ณ ราคาประจำปี) สถานการณ์ ไตรมาสที่ 4 ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ไตรมาสที่ 4 ปี 2558 GDP ภาคเกษตร (ณ ราคาประจำปี) ไตรมาส 4/2559 เทียบกับ ไตรมาส 4/2558 ขยายตัวร้อยละ 5.06 สาขาพืช ขยายตัวร้อยละ 5.26 เนื่องจากปัญหาภัยแล้งคลี่คลายขณะที่ปัญหาน้ำท่วมไม่กระทบการผลิตมากนัก สาขาปศุสัตว์ ขยายตัวร้อยละ 1.84 เนื่องจากขยายการผลิตรองรับความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศเพิ่มขึ้น รวมถึงมาตรฐานฟาร์มดีขึ้น และราคาสินค้าปศุสัตว์ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี สาขาประมง ขยายตัวร้อยละ 6.82 เนื่องจากปัญหาโรคกุ้งตายด่วนคลี่คลาย เกษตรกรมีการบริหารจัดการฟาร์มที่ดีและใช้พันธุ์กุ้งต้านทานโรค มากขึ้น สาขาบริการทางการเกษตร ขยายตัวร้อยละ 3.40 เนื่องจากเนื้อที่เก็บเกี่ยว ข้าวนาปีและเนื้อที่เพาะปลูกข้าวนาปรังเพิ่มขึ้น สาขาป่าไม้ ขยายตัวร้อยละ 2.10 จากผลผลิตไม้ยางพาราและไม้ยูคาลิปตัสที่เพิ่มขึ้น ไตรมาสที่ 1 ปี 2560 เปรียบเทียบกับ ไตรมาสที่ 1 ปี 2559 GDP ภาคเกษตร (ณ ราคาประจำปี) ไตรมาส 1/2560 ขยายตัวระหว่างร้อยละ 3.5 – 4.5 เทียบกับไตรมาส 1/2559 เนื่องจากสภาพอากาศและปริมาณน้ำเอื้ออำนวยมากขึ้น ประกอบกับการดำเนินนโยบาย ต่าง ๆ ของภาครัฐ ช่วยสนับสนุนให้ผลผลิตและราคาสินค้าเกษตรปรับตัวดีขึ้น GDP ภาคเกษตร (ณ ราคาประจำปี) มูลค่า (ล้านบาท) % สาขา Q4/2558 Q4/2559 ภาคเกษตร 375,058 394,031 5.06 พืช 300,909 316,737 5.26 ปศุสัตว์ 29,468 30,010 1.84 ประมง 33,167 35,429 6.82 บริการทางการเกษตร 7,651 7,911 3.40 ป่าไม้ 3,863 3,944 2.10 คาดว่า GDP ไตรมาส 1/2560 ขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 3.5 – 4.5 เทียบกับไตรมาส 1/2559 (เพิ่มจาก 2.99 แสนล้านบาท เป็น 3.10 – 3.13 แสนล้านบาท) สินค้าสำคัญในไตรมาส 1 อ้อยโรงงาน มันสำปะหลัง ยางพารา ข้าวนาปรัง ปาล์มน้ำมัน ไก่เนื้อ สุกร กุ้งขาวแวนนาไม สินค้าสำคัญในไตรมาส 4 ข้าวนาปี ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ไก่เนื้อ สุกร กุ้งขาวแวนนาไม แหล่งผลิตสำคัญ อ้อยโรงงาน : ภาคกลาง เหนือ ตอ.เฉียงเหนือ มันสำปะหลัง : ภาค ตอ.เฉียงเหนือ เหนือ กลาง ยางพารา : ภาคใต้ ตอ.เฉียงเหนือ ข้าวนาปรัง : ภาคกลาง ปาล์มน้ำมัน : ภาคใต้ ไก่เนื้อ สุกร : ภาคกลาง กุ้งขาวแวนนาไม : ภาคใต้ กลาง แหล่งผลิตสำคัญ ข้าวนาปี : ภาค ตอ.เฉียงเหนือ ยางพารา : ภาคใต้ ปาล์มน้ำมัน : ภาคใต้ ไก่เนื้อ สุกร : ภาคกลาง กุ้งขาวแวนนาไม : ภาคใต้ กลาง
หลักการยกร่างยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) คิดการเติบโตทางเศรษฐกิจภาคเกษตร ตามโครงสร้างการผลิต (Product side) GDP ภาคเกษตร / รายได้เกษตรกร = ปริมาณผลผลิต x ราคา – ต้นทุนขั้นกลาง (Q x P) – C 2. นโยบายการขับเคลื่อนแบบทดสอบกลไกการทำงานปี 2559 (Agenda Base) ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร ใช้ C ทำงานในพื้นที่ดำเนินการ (แปลงใหญ่ ศพก. Agri-map) นโยบายยกระดับการขับเคลื่อนกลไกทำงานในปี 2560 (ใช้ Agenda-Area-Function) ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรสู่ความยั่งยืน ใช้ Q ทำงานโดยพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน (GAP เกษตรอินทรีย์) ผลลัพธ์นโยบาย /ปฏิรูปภาคเกษตร ระยะ 20 ปี (ปี 2560 – 2579) เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้น พ้นกับดักรายได้ปานกลาง และ GDP ภาคเกษตรเติบโตอย่างมีคุณภาพ
2559 ภาพรวมการขับเคลื่อนงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน การพัฒนา ด้านการเกษตร Key Success Factors ตลาดนำการผลิต ลดต้นทุน (Cost) ผลิตและขายคุณภาพ ตลาดออนไลน์ 2575-2579 ปีที่ 16-20 2570-2574 ปีที่ 11-15 2565-2569 ปีที่ 6-10 2560-2564 ปีที่ 1-5 1. ปัญหาภาคการเกษตรที่สะสมของประเทศ 2. รัฐบาลแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและวางรากฐานการปฏิรูปการเกษตร 3. ปี 2560-2579 แผนปฏิรูปภาคการเกษตรอย่างยั่งยืน 20 ปี 4. ปี 2560 ปีแห่งการยกระดับมาตรฐานการเกษตร สู่ความยั่งยืน” ก่อนอื่นขอสรุปภาพรวมการนำเสนอในวันนี้ เนื่องจากในอดีตที่ผ่านมาปัญหาภาคการเกษตรส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและสะสมมาจนเป็นปัญหาเรื้อรัง ต้องใช้ระยะเวลาในการแก้ไขปัญหา หลังจากเมื่อเดือนพฤษภาคม 2557 รัฐบาลและ คสช.ได้เข้ามาบริหารประเทศ ก็ได้มีการเร่งสะสางปัญหาที่หมักหมมมา และในปี 2559 กษ.ได้กำหนดให้เป็นปีแห่งการลดต้นทุนปัจจัยการผลิต และเพิ่มโอกาสในการแข่งขัน เพื่อให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถผลิตสินค้าเกษตรด้วยต้นทุนที่ต่ำลง และเพิ่มช่องทางการขายให้กับเกษตร เช่น ตลาดเกษตรกร/ตลาดชุมชน ต่อมาในปี 2560 กษ.ได้กำหนดให้เป็นปีแห่งการยกระดับมาตรฐานการเกษตร และมีการวางรากฐานการพัฒนาการเกษตรไทยไปสู่ความยั่งยืน โดยจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) เพื่อเป็นการปฏิรูปภาคการเกษตร ให้เกษตรกรมีความมั่นคงทางรายได้ พึ่งพาตนเองได้และความสุขในการดำเนินชีวิตประจำวัน ภาคการเกษตรมีความมั่งคั่ง สามารถขายสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพมาตรฐานได้ในราคาที่สูง แข่งขันกับตลาดโลกได้เป็นอย่างดี โดยเน้นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรการเกษตรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน 2559 ปีแห่งการลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขัน เวลา ก่อนปี 2557 พ.ค.2557 ต.ค. 2559 ต.ค. 2560 ก.ย.2579
นโยบายสำคัญกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1. Zoning by Agri-Map 13. Smart Officer 2. แปลงใหญ่ 12. Smart Farmer 11. ตลาดเกษตร , มินิ อตก. และตลาดออนไลน์ 3. ศพก. 882 ศูนย์ นโยบายสำคัญ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในยุทธศาสตร์ ระยะ 20 ปี 4. เกษตรอินทรีย์ 10. ยกระดับความเข้มแข็ง ของสหกรณ์ 5. คุณภาพมาตรฐาน สินค้าเกษตร 9. พัฒนาพื้นที่ ส.ป.ก. กษ. ได้จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรควบคู่กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ของ สศช. ซึ่งการจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) ยังคงน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน ส่งเสริมการผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพ และมาตรฐาน เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร รวมทั้งการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในภาคการเกษตรเพิ่มขึ้น เพื่อบรรลุเป้าหมายในการลดต้นทุนการผลิตให้เกษตรกรมีรายได้ที่มั่นคง เศรษฐกิจการเกษตรเติบโต อย่างมั่งคั่ง และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ภายใต้ความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายละเอียดยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตร ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน 8. ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ 6. ธนาคารสินค้าเกษตร 7. เกษตรทฤษฎีใหม่
แผนภาพการเชื่อมโยงงานตามนโยบายของ รมว.กษ. (เพื่อยกกระดาษ A4) นโยบาย กษ. ผลจากการประชุม ผบร.กษ. เมื่อ 18 มกราคม 2560 ศพก. ใครทำ มีพันธกิจอะไร แปลงใหญ่ เกษตรกร Smart Farmer ใช้ศพก. พัฒนา ศพก. เป้าหมายปลายทาง ต้องทำอะไร คุณภาพชีวิตของเกษตรกรดีขึ้น 1. ฐานะทางสังคม (ภาคภูมิใจใน อาชีพเกษตร และสังคมยอมรับ) 2. รายได้เพิ่มขึ้น/ หนี้สินลดลง Zoning by Agri-Map สินค้ามีคุณภาพ มีตลาดรองรับ ต้นทุนลดลง 20 % ผลผลิต เพิ่มขึ้น 20 % Single Command Smart Officer สกธ. สป.กษ. - มาตรฐานสินค้าเกษตร - เกษตรอินทรีย์ - เกษตร GAP ขับเคลื่อนด้วย สถาบันเกษตรกร - สหกรณ์ - วิสาหกิจชุมชน - กลุ่มเกษตรกร ยกระดับ สถาบันเกษตรกร ให้เข้มแข็ง 1. ปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียง 2. บูรณาการงาน สู่ AGENDA และ AREA 3. เทคโนโลยี/ /นวัตกรรม /องค์ความรู้ เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมผสาน ตัวช่วย ธนาคารสินค้าเกษตร - เงินกู้ ดอกเบี้ยต่ำ - ยุ้งฉาง - ลานตาก - ตลาดสินค้า เกษตร - ฯลฯ ภาครัฐ ประชารัฐ หน่วยงาน อื่น แผนผลิตข้าวครบวงจร หมายเหตุ - กระดาษ A4 หมายถึง พื้นที่เกษตรกรรม 149 ล้านไร่ ที่มีจำกัด - ยกกระดาษ A4 หมายถึง ทำให้เกษตรกรไปสู่เป้าหมาย โดยพัฒนาและใช้พื้นที่เกษตรกรรมที่มีจำกัด จัดหาที่ดินทำกิน ส.ป.ก. ยึดคืน ที่ดิน ส.ป.ก. ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ
ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติ กับ ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี วิสัยทัศน์ : มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน วิสัยทัศน์ : เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน การสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ความมั่นคง : ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 1: การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน : ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสินค้า ยุทธศาสตร์ที่ 2: การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน : ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 3: การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม : ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 4: การสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม : ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ที่ 5: การพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ การปรับสมดุลและพัฒนาระบบ บริหารจัดการราครัฐ : ยุทธศาสตร์ที่ 6
ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) Smart Farmers Smart Agricultural Groups Smart Agricultural Products Smart Area/Agriculture เกษตรกรหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง (รายได้ประชาชาติต่อหัวมากกว่า 13,000 USD ~390,000 บาท/คน ในปี 2579) เป้าประส งค์ 1. เกษตรกรมีความเข้มแข็งและรายได้เพิ่มขึ้น 2. สถาบันเกษตรกร มีคุณภาพและประสิทธิภาพ การสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 1: ยุทธศาสตร์ที่ 2: การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และยกระดับมาตรฐานสินค้า การผลิตสินค้าเกษตรมีประสิทธิภาพและสินค้าเกษตร มีมาตรฐาน เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 3: การเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม การเกษตรก้าวไกลด้วยงานวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 4: การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อม มีความสมดุล ยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย 1. กฎหมายของ กษ. ทันสมัย ครบถ้วน ครอบคลุมในทุกด้านที่เกี่ยวข้อง 2. บุคลากรของ กษ. เป็น Smart Officers 3. ปรับโครงสร้างเพื่อนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของ กษ. ยุทธศาสตร์ที่ 5: การพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ เป้าหมาย
สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ยุทธศาสตร์/เป้าหมาย ตัวชี้วัด แผนระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) ปี 2560 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร - เกษตรกรมีความเข้มแข็ง และรายได้เพิ่มขึ้น - สถาบันเกษตรกรมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ 2. การผลิตสินค้าเกษตรมีประสิทธิภาพและสินค้าเกษตรมีมาตรฐาน - การผลิตสินค้าเกษตร มีประสิทธิภาพ และสินค้า เกษตรมีมาตรฐาน ดัชนีชี้วัดความผาสุกของ เกษตรกร (ร้อยละ) รายได้เงินสดต่อหัวเกษตรกร (บาท/คน) Smart Farmer ต่อเกษตรกรในวัยแรงงาน (อายุ 18-64 ปี) (ร้อยละ) สถาบันเกษตรกรที่มีความเข้มแข็งในระดับมาตรฐาน - ความเข้มแข็งของสหกรณ์ ระดับ 1 และ 2 (ร้อยละ) - ความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชน (ร้อยละ) GDP เกษตรเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า (ร้อยละ/ปี) มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น (ร้อยละ) แปลงใหญ่ (พืชไร่/พืชสวน/ปศุสัตว์/ประมง) (แปลง/ล้านไร่) พื้นที่มีการปรับเปลี่ยนตาม Agri-map จาก S3, N เป็น S1 (ล้านไร่) 95 390,000 100 40 3 3.5 14,500/90 6.0 85 59,460 15 90 25 2.5 7,000/30 1.5 80 (78 ฐานข้อมูลปี 2558) 56,450 44,306 ราย 81 1,512 แปลง 0.3
3. เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ยุทธศาสตร์/เป้าหมาย ตัวชี้วัด แผนระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) ปี 2560 3. เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม - การเกษตรก้าวไกลด้วยงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม 4. บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน - การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมมีความสมดุล ยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5. พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ - กฎหมายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทันสมัย ครบถ้วน ครอบคลุมในทุกด้านที่เกี่ยวข้อง - บุคลากรของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เป็น Smart Officers สัดส่วนงบประมาณงานวิจัยต่องบประมาณประจำปีของกระทรวงเกษตรฯ (ร้อยละ) งานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม ที่มีการพัฒนาต่อยอด (ร้อยละ) พื้นที่การเกษตรได้รับการอนุรักษ์ปรับปรุงและฟื้นฟู (ล้านไร่) พื้นที่ชลประทาน (ล้านไร่) พื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืน (ล้านไร่) กฎหมายที่ได้รับการยกร่าง/แก้ไข/ปรับปรุง (ฉบับ) ข้าราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็น Smart Officers (ร้อยละ) 5 80 12.5 49.52 10 37 100 3.5 50 35.92 2.5 17 20 1.5 30 31.95 1 32 5,000 ราย
เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน 16