จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
ครั้งที่ 1/2560 วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน 2559
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
งานสำคัญด้านโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2560
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
(พิจิตร พิษณุโลกและเพชรบูรณ์)
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2559 - 2560 ภายใต้ความรับผิดชอบของรองอธิบดี นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ 16 ตุลาคม 2558

กรอบแนวคิดรูปแบบการดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง ความชุกของโรคไตเรื้อรังตั้งแต่ระยะที่ 3 ขึ้นไป มีประมาณร้อยละ 2.9-13 โดยผู้ป่วย DM HT มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเรื้อรังตั้งแต่ระยะที่สามขึ้นไปประมาณ 1.9 และ 1.6 เท่าตามลำดับ งบบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว (Capitation) โดยในปีงบประมาณ 2558 สูงถึง 5,247ล้านบาท กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มประชากรทั่วไป การส่งเสริมสุขภาพ Primary Prevention Secondary Prevention Tertiary Prevention ได้รับการตรวจวินิจฉัย ชะลอความเสื่อมของไต DM HT eGFR >60 ml/min ได้รับการดูแลตามมาตรฐานการบริการ ตามระยะของโรค ป้องกันและป้องกันความเสี่ยง CM /CKD Clinic nurse ทีมสหวิชาชีพ อายุรแพทย์โรคไต อายุรแพทย์ eGFR 59-30ml/min eGFR 29-15ml/min eGFR <15ml/min Dialysis RRT คัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อ CDK เฝ้าระวัง ติดตามและการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค การสร้างความตระหนักในประชากรและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยงและการจัดการโรคไตเรื้อรังโดยชุมชน การให้คำปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การพัฒนาคุณภาพการบริการ การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้มีความเข้มแข็ง - การกำกับ ติดตาม และประเมินผล ได้รับคำปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน ปี 2556 มีคนไทยตายเกือบ 23,000 คน (คิดเป็นอัตราตาย 38 ต่อประชากรแสนคน) บาดเจ็บสาหัสกว่า 200,000 ราย บาดเจ็บเล็กน้อยอีก 1,050,088 ราย ผลกระทบต่อความสูญเสียของประเทศปีละ 2 แสนกว่าล้านบาท ส่วนกลาง DHS/DC ส่วนกลาง พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ ข้อมูลเฝ้าระวัง ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ สคร. โครงการพัฒนา ศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ มาตรการจัดการข้อมูล ชี้เป้าแต่ละตำบล/หมู่บ้าน กลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยง จุดเสี่ยงในพื้นที่ ร่วมสร้างมาตรการแก้ปัญหา สคร. 80% อบรมพัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ 24 จังหวัด มาตรการลดปัจจัย/พฤติกรรมเสี่ยง Quick Win : ด่านชุมชน (ช่วงเทศกาล) จัดตั้ง EOC ช่วงเทศกาล มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร การแก้ไขความเสี่ยง บังคับใช้กฏหมาย

การดำเนินงานภายใต้แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองสุขภาพประชาชน ในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม (Hot Zone) พ.ศ. 2558-2567 พท. เป้าหมาย : 36 จ. เสี่ยงมลพิษ สารเคมี สารอันตราย, มลพิษอากาศ, พท. คาดว่ามีปัญหา (รพศ./รพท. 27 แห่ง, รพช. 105 แห่ง, รพสต. 1,078 แห่ง ) ปชช. กลุ่มเป้าหมาย : 8,289,820 คน เป้าหมาย/ตัวชี้วัดการดำเนินงาน : ร้อยละ 80 ของ จ. พท. เสี่ยง มีระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษ สวล. (29 จ. จาก 36 จ.) - ระบบจัดการสุขภาพ หมายถึง มีฐานข้อมูล/สถานการณ์, การตรวจคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยง, เฝ้าระวังทางสุขภาพ+สวล., สื่อสารความเสี่ยง/ให้ความรู้, ตรวจวินิจฉัย/รักษา/ส่งต่อ ส่วนกลาง/ประเทศ คกก. พัฒนาและขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพฯ (รองปลัด ,อธิบดี, ผู้ตรวจราชการฯลฯ) - กำหนดนโยบาย ทิศทางและยุทธศาสตร์การดำเนินงาน - อำนวยการและสนับสนุนการดำเนินงาน เขตสุขภาพ คทง. ติดตามการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพฯ (ผู้ตรวจราชการ, สาธารณสุขนิเทศ, สคร., ศูนย์อนามัย, นพ. สสจ, ผอ.รพ ฯลฯ) - สนับสนุน ผลักดัน ติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไข ปัญหาโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม จังหวัด - จัดตั้ง คทง. ในระดับ จ./อ./ต. ตามบริบทในแต่ พท. - จัดตั้งคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ) สสจ. - ฐานข้อมูล - สถานการณ์การ เฝ้าระวัง - สนับสนุน/นิเทศ/ประสานงานในภาวะปกติและฉุกเฉิน รพศ./รพท. (Env.-Occ. Unit) - รับ Refer - จัดบริการรุก+รับ รพช. พท. Hot zone (Env.-Occ. Center) - บริการเชิงรุก (ตรวจประเมินความเสี่ยงสุขภาพ/คัดกรองและ มีฐานข้อมูลสุขภาพ) - เชิงรับ : เฝ้าระวัง, รักษา, Refer รพสต. + หมอครอบครัว (Env.-Occ. Clinic) - ประเมินความเสี่ยงเบื้องต้น/คัดกรอง/Refer - สื่อสารความเสี่ยง/ให้ความรู้ - เยี่ยมบ้าน/Follow up