Law as Social Engineering Roscoe Pound Law as Social Engineering
Law as Social Engineering Roscoe Pound (1870-1964) Harvard Law School สืบทอดแนวคิดของ Oliver Wendell Holms Jr. Natural Law เป็นพื้นฐานของ Common Law “Legal Tradition” ผู้พิพากษาเป็นผู้วางหลักการทางกฎหมายเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม Mechanical Jurisprudence vs. Sociological Jurisprudence Law as Social Engineering
Mechanical Jurisprudence ตัวอย่างของแนวคิดทางกฎหมายที่เชื่อว่าการปฏิรูปการเมืองไทยสามารถทำได้โดยการกำหนดกลไกทางกฎหมายในรัฐธรรมนูญ 2540 เช่น การสร้างระบบการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ การสร้างกลไกในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน การสร้างกลไกในการคุ้มครองรัฐธรรมนูญ ในทางสังคม กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญมีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน มีตัวแทนจากด้านต่างๆ พยายามผลักดันประเด็นของตนเข้าสู่รัฐธรรมนูญ เช่น สิทธิเด็ก สตรี แรงงาน ชุมชน คนพิการ สุขภาพ สิ่งแวดล้อม Law as Social Engineering
Law as Social Engineering การที่ศาลตัดสินคดีอยู่บนพื้นฐานของตรรกะของแนวคำพิพากษาเพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้คำนึงถึงแต่ผลที่ตามมา สร้างความรุนแรงและสิ่งที่ไม่พึงปรารถนาในสังคม ผู้พิพากษาควรจะตัดสินคดีโดยการปรับใช้กฎหมายให้สอดคล้องกับ “ความต้องการของสังคม” ผู้พิพากษาต้องปรับใช้กฎหมายอย่างเป็นาภาวะวิสัย เชื่อใน The Rules of Law Law as Social Engineering
Law as Social Engineering Legal Science ความคิดที่พยายามสร้างความเป็นนิติศาสตร์ (ศาสตร์) ให้อยู่บนพื้นฐานของหลักการที่อธิบายอย่างภาวะวิสัยได้ เหมือนกับวิทยาศาสตร์ ดังนั้นการตัดสินคดีของผู้พิพากษาจึงไม่ควรจะเบี่ยงเบนไปตามความรู้สึก หรือบริบททางสังคม Pure Theory of Law – Hans Kelsen 1967 กฎหมายสร้างขึ้นบนหลักการพื้นฐานทั่วไป (Basic Norm) Law as Social Engineering
ความเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับ บทบาทของผู้พิพากษา ในขณะที่นักสัจจนิยมทางกฎหมาย มองว่าการตัดสินของศาลเป็นจิตวิทยาของผู้พิพากษาส่งผลต่อคำพิพากษานั้นๆ (Jerome N. Frank – Law and the Modern Mind 1933) เมื่อศาลไม่สามารถพัฒนาหลักกฎหมายได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม การออกกฎหมายให้เกิดการเปลี่ยบแปลงอย่างกว้างในสังคมก็มีความจำเป็น กฎหมายต้องสอดคล้องกับสังคม Law as Social Engineering
Law as Social Engineering ข้อวิพากษ์เกี่ยวกับแนวคิดที่พยายามสร้างให้ผู้พิพากษา เป็นผู้ชี้นำสังคม เป็นผู้บังคับใช้กฎหมายได้อย่างถูกต้องนั้น ตามแนวคิดสัจจนิยมทางกฎหมาย มองว่าผู้พิพากษาก็เป็นปุถุชนธรรมดา ดังนั้นย่อมตัดสินคดีไปตามที่ตนเองถูกหล่อหลอมมา ได้แก่ เป็นภาวะส่วนตัว ที่มีประสบการณ์เช่น เคยอยู่ในครอบครัวที่มีความรุนแรง ในการตัดสินคดีที่เกี่ยวกับความรุนแรงในครอบครัวก็จะตัดสินลงโทษอย่างเข้มงวด หรือ การอยู่ในกรอบที่สร้างนักกฎหมายแบบนั้น เช่น กระบวนการอบรมผู้พิพากษา ที่ต้องมี “จรรยา” กำหนดกรอบว่าผู้พิพากษาต้องตัดสินคดีอย่างไร ความสำคัญของการศึกษากฎหมายกับสังคม ในแนวทางนี้ คือ การแสวงหาว่าผู้พิพากษามีแนวทางการใช้กฎหมายอย่างไร เช่น การเข้าไปดูแนวทางการตัดสินคดี (อ่านงาน เพศวิถีในคำพิพากษา โดยสมชาย ปรีชาศิลปกุล) Law as Social Engineering
ตัวอย่างของสัจจนิยมในกฎหมายไทย คดี ดร.ฆ่าเมีย? กฎหมายใส่กางเกง คาดโรแล็กซ์? การวิพากษ์วิจารณ์คำพิพากษาจากสังคม รูปคดีและการสั่งฟ้องจากตำรวจ (ต้นน้ำ) การไต่สวนของอัยการและการสั่งฟ้อง (กลางน้ำ) การพิจารณาของศาล (ปลายน้ำ) หลักการของการดำเนินคดีความรุนแรงในครอบครัว เบื้องหลังคนที่เกี่ยวข้องในคดี Law as Social Engineering
Law as Social Engineering อ่านบทความ - นัทมน คงเจริญ และสมชาย ปรีชาศิลปกุล, “ข่มขืนโดยกระบวนการยุติธรรม,” วารสานิติสังคมศาสตร์, Vol 1, No 1 (2003) file:///C:/Users/LB1401/Downloads/64538-150278-1-SM.pdf – สมชาย ปรีชาศิลปกุล, “จากระบบกฎหมายแบบทวิเพศสู่ระบบกฎหมายแบบพหุเพศ,” วารสานิติสังคมศาสตร์ Vol 6, No 1 (2013) file:///C:/Users/LB1401/Downloads/64612-150445-1-SM.pdf The End ☃ Law as Social Engineering