นางเกษรา อุ่นใจ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
One Stop Service One Stop Service One Stop Service.
Advertisements

งานธุรการ.
1.แนวปฏิบัติที่ดีของสำนักหอสมุดคืออะไร
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ระบบที่พัฒนาสำเร็จแล้ว 1) ระบบการลาออนไลน์ 2) ระบบสายตรง 3) ระบบเอกสารอ้างอิง 4) ระบบ TOR 5) ระบบ e-Project 6) ระบบแจ้งเตือน e- Manage 7) ระบบ e-Meeting.
กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
บทบาทภารกิจที่ เปลี่ยนแปลงของ สสจ. หลัง ยกเลิกการเป็น สปสช. สาขาจังหวัด นางประภาพร บรรยงค์ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ. ขอนแก่น.
ฝ่ายอำนวยการ งานธุรการและงาน สารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานการเจ้าหน้าที่ งานสวัสดิการ งานนโยบายและที่รับ มอบหมาย ยิ้มงาม ถามไถ่ เต็มใจบริการ.
แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล
การจัดบริการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
รายวิชา นาฏยศิลป์ไทยปริทัศน์ (Introduction To Thai Dance)
การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็ง
เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
เป็นยารวมเม็ดGPO vir z ในเด็ก
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพ้ยาและ ผลของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
How to decrease no ANC & increase early ANC
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์.
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
ไคเซ็น KAIZEN.
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
ระเบียบวาระการประชุม
“การใช้สิทธิของประชาชนและชุมชนในการคุ้มครองสุขภาพและสิ่งแวดล้อม”
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
โครงการแลกเปลี่ยนความรู้ การเสวนาแนวทางเพื่อสร้างมาตรฐานในการทำงานของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ ; (การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) วันที่ 22 มีนาคม.
TB HIV ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขยายผลแนวทาง การให้บริการ IPT
กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
Medication Reconciliation
บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำกัด สาขา เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่
การสื่อสารจากกระทรวงไปสำนักงานพาณิชย์จังหวัด
ฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Science and Technology Infrastructure Databank (STDB)
กองทุนประกันสุขภาพ แรงงานต่างด้าว จังหวัดขอนแก่น.
รพ.บัวเชด อ.บัวเชด จ.สุรินทร์
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
2017 edition of "The World of Organic Agriculture"
ปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับแผนการจัดการเรียนรู้
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
การใช้ยา.
นิเทศงานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
สิ่งที่ควรและไม่ควรปฏิบัติในงานบริการ (DO & DON’T IN CUSTOMER SERVICE)
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ “การพัฒนาคุณภาพระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS แบบครบถ้วนและต่อเนื่อง” PCTอายุรกรรม โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
แผนปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรม Thai COC
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
การพัฒนาบุคลิกภาพในงานบริการ Week 2
Service Profile หน่วยงาน : ห้องคลอด รพร.เดชอุดม
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ประมวลภาพงานวันป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๗ รำลึกครบรอบ ๑๐ ปี สึนามิ เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ อนุสรณ์สถานสึนามิบ้านน้ำเค็ม.
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางเกษรา อุ่นใจ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โครงการ: การพัฒนาศักยภาพผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่รับยาต้านไวรัส ด้วยกระบวนการเสริมพลังการพึ่งตนเอง โดย นางเกษรา อุ่นใจ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลลับแล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์

เป้าหมาย : พัฒนาศักยภาพในการพึ่งตนเองของกลุ่มผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในการร่วมมือต่อการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ เพื่อเพิ่มระดับ CD4 และ ลดการเกิดโรคฉวยโอกาสและ การดื้อยาต้านไวรัสเอดส์

ปัญหาและสาเหตุ จากปี 2553 ผู้ติดเชื้อ/ ผู้ป่วยเอดส์ ที่กินยาต้านไวรัส จำนวน 72 คน พบผลเลือดมีระดับ CD4 ต่ำกว่า 100 Cell/mm จำนวน 14 ราย ระดับ CD4 เท่ากับ 101-200 Cell/mm จำนวน 17 ราย ระดับ CD4 เท่ากับ 201-300 จำนวน 34 ราย ระดับ CD4 เท่ากับ 300 ขี้นไป จำนวน 7 ราย คิดเป็น ร้อยละ 19.45, 23.61, 47.22 และ 9.72 ตามลำดับ ทำให้ต้องได้รับยาป้องกันโรคฉวยโอกาส จำนวน 31 ราย คิดเป็น ร้อยละ 43 ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ดื้อยา จำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.78 ซึ่งในอนาคตหากไม่ได้รับการแก้ไข อาจทำให้เกิดโรคฉวยโอกาสและเกิดการดื้อยาได้มากขึ้น

กิจกรรมการแก้ปัญหา/พัฒนา การสร้างกระบวนการเสริมพลังโดยให้ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ขั้นตอนกิจกรรมในคลินิกใจสว่างแบบ One stop service ปฏิบัติดังนี้ 1.เมื่อผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์มาที่คลินิกใจสว่างแกนนำผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ค้นบัตรต่อการรักษา ชั่งน้ำหนัก วัด V/S วัดรอบเอว สอบถามถึงประสบการณ์ที่ผ่านมา และประเมินเหตุการณ์หรือความรู้สึกของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์โดยใช้เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ (WHOQOL- BREF-THAI) มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เป็นอยู่ และจัดให้นั่งรอการตรวจ

กิจกรรมการแก้ปัญหา/พัฒนา การสร้างกระบวนการเสริมพลังโดยให้ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ขั้นตอนกิจกรรมในคลินิกใจสว่างแบบ One stop service ปฏิบัติดังนี้ 2. แกนนำให้สุขศึกษาเกี่ยวกับการดูแลตนเอง การกินยาต้านไวรัส การมาตามนัดรับยา การเจาะเลือด การกินอาหาร การออก กำลัง กาย การพักผ่อน การบรรเทาการเจ็บป่วย และการ ป้องกันโรคแทรกซ้อน

กิจกรรมการแก้ปัญหา/พัฒนา การสร้างกระบวนการเสริมพลังโดยให้ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ขั้นตอนกิจกรรมในคลินิกใจสว่างแบบ One stop service ปฏิบัติดังนี้ เจ้าหน้าที่คลินิกปฏิบัติ -ซักประวัติตรวจร่างกาย ประเมินDrug Adherence - คัดกรอง บุหรี่ สุราและคัดกรองภาวะซึมเศร้า - ให้คำปรึกษารายบุคคล ให้ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยได้ตัดสินใจในการ แก้ปัญหา ให้ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ตั้งเป้าในการรักษาพยาบาล เช่น ให้ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์รับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลตนเอง

กิจกรรมการแก้ปัญหา/พัฒนา การสร้างกระบวนการเสริมพลังโดยให้ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ขั้นตอนกิจกรรมในคลินิกใจสว่างแบบ One stop service ปฏิบัติดังนี้ - ลงบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม บันทึกการรักษา การจ่ายยา และนัดครั้งต่อไป เภสัชกร ปฏิบัติดังนี้ - จัดและจ่ายยา อธิบายการกินยา ผลข้างเคียงของยา ให้ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์กลับบ้าน

กระบวนการในชุมชน แกนนำผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์เยี่ยมบ้านในรายที่มีปัญหา โดยการเสริมสร้างคุณค่าตัวเองให้ กำลังใจ ให้คำปรึกษา ติดตามผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ให้มาตามนัด

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัส ครบ 6 เดือนขึ้นไป จำนวน 72 ราย สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเกี่ยวกับโรคที่เป็นอยู่ 2. รับประทานยาตรงเวลาอย่างต่อเนื่อง 3. มาตามนัดทุกครั้ง

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 4. ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัส ครบ 6 เดือนขึ้นไป ได้รับการตรวจเลือดระดับ CD4ทุก 6 เดือนคิดเป็น ร้อยละ76 5. ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัส นานกว่า 6 เดือน ขึ้นไปได้รับการตรวจเลือดระดับVLอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี คิดเป็นร้อยละ 86.6

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 6.ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสได้รับการประเมินหรือ ติดตามDrug Adherenceคิดเป็นร้อยละ 98.5 7.ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสไม่พบโรค ฉวยโอกาส และดื้อยา

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 8.ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับยาต้านสามารถพี่งตัวเองได้โดยการ ประกอบอาชีพเองได้ เช่น รับจ้าง ค้าขาย ทำเกษตรกรรม อยู่ใน สังคมอย่ามีความสุขปกติ 9. ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัส ครบ 6 เดือนขึ้นไป จำนวน 72 ราย ได้รับการตรวจเลือดระดับCD4 ทุก 6 เดือน ผลเลือดมีระดับ CD4 เพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าโครงการดังนี้

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 10.ร้อยละ ของระดับ CD4 ในเลือดผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ก่อน-หลัง เข้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่ รับยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องโดยแกนนำผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ด้วย กระบวนการเสริมพลังการพึ่งตนเอง

ระดับ CD4 ก่อนเข้าโครงการ หลังเข้าโครงการ จำนวน ร้อยละ ต่ำกว่า 100 cell/mm 14 19.45 1 1.39 100-200 cell/mm 17 23.61 6 8.33 201-300 cell/mm 34 47.22 13 18.06 300 cell/mm ขึ้นไป 7 9.72 52 72.22

บทเรียนที่ได้รับ ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์เข้าใจกับโรคที่ตัวเองเป็นอยู่ มีความมุ่งมั่น ที่จะรักษาและดูแลตัวเอง และมีความเข้าใจ เห็นใจ การสร้างสัมพันธภาพ ที่ดีเป็นส่วนหนึ่งของการร่วมมือร่วมแรงทำงานที่ดี ได้เรียนรู้กลวิธีที่ผู้ป่วยใช้ในการเตือนตนเองให้กินยาสม่ำเสมอและตรงเวลา ได้เรียนรู้ถึงการสร้างแรงจูงใจในการให้ผู้ป่วยร่วมมือในการกินยาอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ได้เรียนรู้การปรับตัวของผู้ป่วยในการดำเนินชีวิตที่บ้านและในชุมชน เกิดการเข้าใจในการดำเนินชีวิตที่หลากหลายของผู้ป่วยในการปรับตัวกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือในการกินยาของผู้ป่วย

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1.การดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วย เอดส์ที่กินยาต้านไวรัส ผู้ป่วยและผู้ดูแลจะต้องมีความพร้อม จึงควรมีโครงการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและผู้ดูแล อย่างต่อเนื่อง 2. การสร้างทัศนะคติที่ดีต่อยาเป็นสิ่งสำคัญ ควรมีการสร้างความเข้าใจที่ดีต่อยาโดยผู้รับผิดชอบควรให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง

สวัสดี