งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ที่ป่วยเป็นวัณโรค โรงพยาบาลกันตัง ขนาด 60 เตียง สุบงกช อุตสาหะ กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและ บริการปฐมภูมิ โทรศัพท์

2 บริบท / ภาพรวม / สภาพปัญหา
พ.ศ โรงพยาบาลกันตัง พบว่า มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ป่วยเป็นวัณโรค ร้อย ละ 22.95,16.18 และ6.56 ตามลำดับ อัตราตายในผู้ป่วยกลุ่มนี้มีแนวโน้มสูงขึ้น ปี 57สูงถึงร้อยละ 25 สาเหตุเกิดจากผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอช ไอวีเหล่านี้ เข้าสู่ระบบการรักษาช้า ทำให้ระดับภูมิ ต้านทานลดลงมาก ร้อยละCD4เฉลี่ย 58,64,118 cell ตามลำดับ สภาพภูมิศาสตร์ ท่าเทียบเรือน้ำลึก ประมง มีการว่าจ้างแรงงานข้ามชาติ แรงงานต่างถิ่น เกิดชุมชนแออัด มี สถานบริการทางเพศตามมา

3 การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง
ฝั่ง HIV 2555 คน (%) 2556 2557 1.จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 397 341 372 2. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรค (รายใหม่ CXR+ซักประวัติทุกราย รายเก่าซักประวัติ ทุกครั้งที่มารพ.) 100% (397/397) 82.69% (282/341) 96.77% (360/372) 3. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรคพบป่วยวัณโรค 0.50% (2/397) 0.59% (2/341) 0.27% (1/372)

4 การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง
ฝั่ง TB 2555 คน (%) 2556 2557 1. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 61 68 2. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปีได้รับการตรวจเลือดคัดกรองเอชไอวี 90.16% (55/61) 89.71% (61/68) 98.36% (60/61) 3. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive 22.95% (14/61) 16.18% (11/68) 6.56% (4/61)

5 การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง
TB/HIV 2555 คน (%) 2556 2557 1. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive ได้รับการตรวจ CD4 100% (14/14) 81.82% (9/11) 100% (4/4) 2. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์การรักษา 85.71% (12/14) 63.64% (7/11) 75% (3/4) 3. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาป้องกันโรคแทรกซ้อนตามแผนการรักษาตามเกณฑ์การรักษา 100% (11/11)

6 การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง
TB/HIV 2555 คน (%) 2556 2557 4. ผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสภายใน 2-8 สัปดาห์ตามเกณฑ์ประเทศ (CD4<50 ภายใน 2 สัปดาห์, CD4> 50 ภายใน 2-8 สัปดาห์ ) 25% (2/12) 42.86% (3/7) 66.67% (2/3) 5. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี เสียชีวิตในปีที่ประเมิน 7.14% (1/14) 0% (0/11) 25% (1/4) 6. ค่ามัธยฐานระยะเวลาในการเริ่มยาต้านไวรัส Median time(วัน) 90 57 19 Median CD4 ของผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี 58 64 118

7 กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ / กิจกรรมพัฒนา
กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ / กิจกรรมพัฒนา การพัฒนา P เชิงรุก การค้นหา D คลินิกวัณโรค C ติดตาม ประเมินผล A แก้ไขและปรับปรุง

8 กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ / กิจกรรมพัฒนา
กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ / กิจกรรมพัฒนา ใช้หลัก 3p Purpose Process performance

9 1.พัฒนาระบบบริการในคลินิกวัณโรค
ดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและเอดส์อย่าง ต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบงานโรคเอดส์และงานวัณโรค เป็นทีมงานเดียวกัน กำหนดระยะเวลาในการเริ่มยาต้านไวรัส ภายหลังรับการยารักษาวัณโรคเป็น สัปดาห์ เกิดนวัตกรรม “สายลับTB” ในคลินิกผู้ติดเชื้อ โดยแกนนำผู้ติดเชื้อที่เคยป่วยเป็นวัณโรค สมัครใจมาเป็นพี่เลี้ยง empowerment เพื่อนสมาชิก โดยผ่านการอบรมให้ความรู้ จากเจ้าหน้าที่ประจำคลินิก จัดทำ CQIโรคเอดส์/วัณโรค ,clinical tracer โรคเอดส์/วัณโรค ,service profile โรคเอดส์/วัณโรค

10 2. พัฒนาบุคลากร ทบทวนสถานการณ์วัณโรคและโรคเอดส์ ในโรงพยาบาลโดยทีมสหวิชาชีพ ทบทวนตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องในการ ดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและโรคเอดส์ ย้อนหลัง3 ปี จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยวัณโรคและ เอดส์ จัดอบรมและฝึกทักษะในการปฏิบัติงาน วัณโรคในระบบ DOTS แก่เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข , อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน (อสม.) ที่ทำหน้าที่พี่เลี้ยง ผู้ป่วยวัณโรคตามกลุ่มเป้าหมาย

11 3. พัฒนาระบบบริการในชุมชน
มีการส่งต่อข้อมูลคืนสู่ชุมชน เพื่อติดตาม การรักษา/ควบคุมโรค พัฒนาการทำ DOT โดย จนท./อสม.ให้ เข้มแข็งและต่อเนื่อง มีเครือข่ายผู้ติดเชื้อเพื่อติดตามดูแลผู้ป่วย ในชุมชน มีระบบติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยรายใหม่ รายที่มีปัญหา โดยทีมสหวิชาชีพและ แกนนำผู้ติดเชื้อ ส่งเสริมให้ชุมชนมีศักยภาพในการดูแล ผู้ป่วยวัณโรค ป้องกันตนเองและ ควบคุมโรคได้

12 บทเรียนที่ได้รับ ความร่วมมือของทีมสหวิชาชีพของทั้ง 2 คลินิกทำให้การทำงานประสบความสำเร็จ ความล่าช้าในการวินิจฉัยผู้ป่วยทำให้ ภูมิคุ้มกันต่ำลง ผู้ป่วยจะเสียชีวิตได้เร็ว การให้บริการผู้ป่วยวัณโรคและผู้ป่วยเอดส์ ควรให้การดูแลแบบองค์รวม ครอบคลุม ด้านการรักษาพยาบาล การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสภาพ รวมถึงคนในครอบครัว

13 ประเด็นการพัฒนาต่อเนื่อง
การดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและโรค เอดส์อย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน ส่งเสริมให้ชุมชน และประชาชนมีส่วน ร่วม ในการค้นหาและรักษาผู้ป่วย การพัฒนาความรู้ วิชาการ ในการดูแล รักษาผู้ป่วยให้ทันสมัย

14 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google