งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี จังหวัดสตูล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข และ กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ และยาเสพติด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล

2 ทำไมต้องคัดกรองบุหรี่
นำไปสู่ การบำบัด การ DX COPD การคัดกรอง CVD Risk ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

3 ใครทำ - OPD มีมากมาย ?????? ใครบันทึก ?????
ในคลินิก ---ผู้รับผิดชอบงาน

4 เป้าหมายการคัดกรองบุหรี่
- ประชาชน อายุ 15 ปี ขึ้นไป - ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหืด โรคถุงลมโป่งพอง) ทุกราย

5 ตัวชี้วัดกระทรวง (23) ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ตัวชี้วัดจังหวัด 23.1 ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป 23.3 ร้อยละของผู้ติดบุหรี่ สุราที่ได้รับการบำบัดตามเกณฑ์ ร้อยละผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีประวัติสูบบุหรี่เข้ารับการรักษาในคลินิกอดบุหรี่ ร้อยละผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีประวัติสูบบุหรี่เข้ารับการรักษาในคลินิกอดบุหรี่และเลิกได้สำเร็จ ร้อยละผู้มีประวัติสูบบุหรี่เข้ารับการรักษาในคลินิกอดบุหรี่ ร้อยละผู้มีประวัติสูบบุหรี่เข้ารับการรักษาในคลินิกอดบุหรี่และเลิกได้สำเร็จ ตัวชี้วัดจังหวัด 23.2 ความชุกของผู้ดื่มสุราของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีประวัติดื่มสุราเข้ารับการรักษาในคลินิกบำบัดสุรา ร้อยละผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีประวัติดื่มสุราเข้ารับการรักษาในคลินิกบำบัดสุราและเลิกได้สำเร็จ ร้อยละผู้มีประวัติดื่มสุราเข้ารับการรักษาในคลินิกบำบัดสุรา ร้อยละผู้มีประวัติดื่มสุราเข้ารับการรักษาในคลินิกบำบัดสุราและเลิกได้สำเร็จ

6 การใช้รหัสในการลงข้อมูล
สนย.ได้กำหนดรหัส 1B5 ในการคัดกรองและติดตามผู้ที่บำบัดเลิกบุหรี่ จำนวน 21 รหัส เริ่มใช้ได้ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2560 เป็นต้นไป ส่งออกข้อมูลมาในแฟ้ม Special PP ถ้ามาคัดกรองและติดตามการบำบัดเลิกบุหรี่เท่านั้น ไม่ต้องใส่รหัส ICD10 โรคหลัก

7 การลงข้อมูลใน JHCIS โปรแกรม JHCIS Version วันที่ 18 มกราคม 2560 จะให้มีการกรอกข้อมูลการคัดกรองบุหรี่และติดตามผู้ที่บำบัดเลิกบุหรี่ ใน Special PP

8

9 สอบถามประวัติการสูบ (การคัดกรองบุหรี่ใน spacialPP)
รหัส คำอธิบาย 1B501 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ 1-10 มวนต่อวัน 1B502 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ มวนต่อวัน 1B503 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ 20 มวนขึ้นไปต่อวัน 1B504 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอน น้อยกว่า 30 นาที 1B505 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอน มากกว่า 30 นาที แต่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 1B506 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอน 1 ชั่วโมง หรือมากกว่า 1B509 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ ไม่ระบุรายละเอียด 1B51 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมเคยสูบบุหรี่แต่เลิกแล้ว 1B52 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมไม่เคยสูบบุหรี่

10 การให้บริการผู้ที่มารับบริการ
รหัส คำอธิบาย 1B530 การให้คำแนะนำผู้ติดบุหรี่แบบสั้น (Brief Advice) 1B531 การให้คำปรึกษาเพื่อการเลิกบุหรี่ (Counseling Advice) 1B532 การให้คำปรึกษาและให้ยาเพื่อเลิกบุหรี่ (Counseling Advice + Medicine)

11 การติดตาม รหัส คำอธิบาย 1B540
การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 1 เดือน ผลยังสูบอยู่ปริมาณ/จำนวนมวน เท่าเดิม 1B541 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 1 เดือน ผลลดปริมาณ/จำนวนมวนที่สูบลงได้ 1B542 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 1 เดือน ผลไม่สูบแล้ว 1B550 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 3 เดือน ผลยังสูบบุหรี่อยู่ปริมาณ/จำนวนมวนเท่าเดิม 1B551 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 3 เดือน ผลลดปริมาณ/จำนวนมวนที่สูบลงได้ 1B552 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 3 เดือน ผลไม่สูบแล้ว 1B560 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 6 เดือน ผลยังสูบบุหรี่อยู่ปริมาณ/จำนวนมวนเท่าเดิม 1B561 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 6 เดือน ผลลดปริมาณ/จำนวนมวนที่สูบลงได้ 1B562 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 6 เดือน ผลไม่สูบแล้ว

12 การบันทึกการการคัดกรองบุหรี่
บันทึกโดยใช้ ICD 10 Z 72.0 ยังไม่ได้ประเมิน Nicotine Score Z 72.0 ได้รับการประเมิน Nicotine Score ผลค่อนข้างต่ำ F 17.2 – F ได้รับการประเมิน Nicotine Score ผลปานกลางถึงสูง

13

14 การบันทึกการบำบัดบุหรี่ในคลินิกอดบุหรี่
โดยใช้รหัส icd 10 การบำบัดต่อเนื่อง = Z508+Z 716+Z720 = Z508 + Z716+ F17.2 –F17.26

15 ความเชื่อมโยงการคัดกรองบุหรี่ การวินิจฉัย COPD
พบผู้สูบบุหรี่ เป่า Peak Flow :8937 ค่า Peak Flow น้อยกว่า 62 ส่งตรวจ Spiro:8938

16 ความเชื่อมโยงการคัดกรองบุหรี่ การประเมิน CVD Risk
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สูบบุหรี่ (ต้องมีรหัสสูบบุหรี่) ใช้เป็นสูตรการคำนวณ การประเมิน CVD Risk

17 สุรา เป้าหมาย ลดนักสูบนักดื่มหน้าใหม่ (อายุ ................. ปี)
เป้าหมาย ลดนักสูบนักดื่มหน้าใหม่ (อายุ ปี) Z71.4 การให้คำปรึกษาและเฝ้าระวังผู้ติดสุราไม่รวม: หัตถการฟื้นฟูสภาพผู้ติดสุรา (Z50.2) Z72.1 การใช้แอลกอฮอล์ ไม่รวม: การติดแอลกอฮอล์ (F10.2)

18 สุรากับ มะเร็งตับ เป็นผู้ป่วยกลุ่มพิษสุราเรื้อรัง หรือ ตับแข็งใช้รหัส - F10.0 (เมาสุรา), F10.2 : พิษสุราเรื้อรัง หรือ - K70.3 : ตับแข็งจากแอลกอฮอล์

19 1.เข้าโปรแกรม JHCIS คลิกที่ปุ่ม “การให้บริการ ( OP / PP Service )”

20 2.คลิกที่ปุ่ม “ค้นหา” เลือกวันที่ให้บริการ คลิก OK

21 3.พิมพ์ชื่อที่ต้องการค้นหา และ เลือกคนที่จะลงข้อมูล แล้วคลิก OK

22 4.กรอกข้อมูลต่างๆ ดังนี้ อาการสำคัญ , ความดัน , น้ำหนัก , ส่วนสูง , รอบเอว , ชีพจร , หายใจ แล้วคลิก Special PP

23 5.คลิกที่ช่อง “บุหรี่” และคลิกที่เครื่องหมายสามเหลี่ยมในช่อง “บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเฉพาะ” แล้วคลิกเลือก “รหัสการคัดกรองและการติดตาม” โดยเลือกได้ทีละรหัส

24 6.คลิกเลือก “ใน/นอกสถานบริการ” แล้วปิดหน้าต่างนี้
6.คลิกเลือก “ใน/นอกสถานบริการ” แล้วปิดหน้าต่างนี้

25 การส่งออกและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
1.เลือกรายการ “รายงานและสอบถามข้อมูล”

26 2.คลิกเลือกรายการ “ส่งออกชุดข้อมูล 21 / 43+7+2 ++ แฟ้ม”

27 3.เลือกช่วงวันที่ที่ต้องการส่งออกข้อมูล คลิกรายการ “ประมวลผลและส่งออก แฟ้มมาตรฐาน” จะได้ไฟล์อยู่ที่ C:\JHCIS_export

28 การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 43 แฟ้ม ก่อนส่งข้อมูลให้สสจ
การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 43 แฟ้ม ก่อนส่งข้อมูลให้สสจ. หรือ กระทรวง 1.เปิดโปรแกรม OP-PP2010 FOR 2558 เพื่อใช้ในการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลก่อนส่ง คลิกรายการ “ตรวจสอบ 43 แฟ้ม”

29 2.คลิกที่รายการ “1.เลือกแฟ้ม” เลือกที่อยู่ของไฟล์ 43 แฟ้ม คือ C:\JHCIS_export และคลิกเลือกไฟล์ 43 แฟ้มที่ต้องการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล

30 3.คลิกรายการ “2.รับข้อมูล” จะแสดงรายชื่อแฟ้มต่างๆ ในตารางด้านซ้ายมือ
3.คลิกรายการ “2.รับข้อมูล” จะแสดงรายชื่อแฟ้มต่างๆ ในตารางด้านซ้ายมือ

31 4.คลิกเลือกรายการ “3.ตรวจสอบแบบละเอียด” แล้วคลิก YES

32 5.คลิกรายการ “ประมวลผลข้อมูล” ก็จะแสดงจำนวน RECORD , ERROR และ ผ่านร้อยละ ในรายการแฟ้มข้อมูลที่ประมวลผล แล้วคลิก OK

33 6.คลิกเลือกแฟ้มที่มีข้อมูล ERROR ก็จะแสดงข้อมูลที่ ERROR ในตาราง รายการตรวจสอบที่ไม่ผ่าน แล้วคลิกก็จะแสดงรายละเอียดข้อมูลที่ ERROR ในตารางด้านล่างขวา และสามารถส่งไฟล์ข้อมูลที่ ERROR เป็นไฟล์ Excel ได้

34 การลงบันทึกข้อมูลการคัดกรองบุหรี่และติดตาม ผู้ที่บำบัดเลิกบุหรี่ ในโปรแกรม HospXP
การ update รหัสลงในโปรแกรม 1.Rename ไฟล์ตาราง pp_special_type เป็น pp_special_type1 หรือจะลบตารางนี้ก็ได้ (แนะนำว่าให้ rename จะดีกว่า)

35 2.นำเข้าไฟล์ pp_special_type.cds ใส่ไว้ในโปรแกรม

36 3.นำเข้าตาราง

37 การกรอกข้อมูลในโปรแกรม HospXP 1
การกรอกข้อมูลในโปรแกรม HospXP 1.เข้าโปรแกรม HospXP คลิกที่รายการ “เข้าเมนูระบบผู้ป่วยนอก” คลิกเลือกรายการ “One Stop Service”

38 2.เลือกวันที่ให้บริการ และ ดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อผู้ป่วย
2.เลือกวันที่ให้บริการ และ ดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อผู้ป่วย

39 3.หน้าประวัติผู้ป่วย มุมด้านล่างขวา เลือก “ปุ่มงานอื่นๆ” ตรงที่มีเครื่องหมายสามเหลี่ยม เลือก Special Project

40 4. คลิกเพิ่มกิจกรรม

41 5. คลิกเลือก “ใน/นอกสถานที่” เลือกเจ้าหน้าที่ ที่ให้บริการ และเลือกรหัสในการคัดกรองหรือติดตามบุหรี่ ในช่อง “งานที่ให้บริการ” แล้วคลิก บันทึก (เลือกได้ทีละ 1 รหัส)

42 6. ถ้าหากต้องการเลือกรหัสเพิ่มอีก ให้ไปเริ่มที่ข้อ 4 และข้อ 5 ต่อ จนครบ ถ้าเลือกครบแล้ว คลิก บันทึก

43 ข้อมูลอื่นๆ ที่ควรเตรียมไว้บ้าง
ข้อมูลพื้นฐานในแต่ละอำเภอ ข้อมูลระบบติดตามการดำเนินงานจังหวัดปลอดบุหรี่

44 การติดตามงานโครงการสามล้านสามปี

45 เราจะทำงานได้อย่างไร...........ดี
เข้าใจธรรมชาติของงานเราก่อน มองเห็นวิธีการทำงานมากกว่าจะมองว่าเป็นปัญหา ต้องสร้างโอกาส ฉวยโอกาส มากกว่ารอโอกาส ถึงลูกถึงคน พร้อมที่จะเผชิญกับทุกเรื่อง เหนื่อยท้อได้ แต่เดี๋ยวก็กลับมาทำใหม่ คิดเชิงบวก

46 สวัสดี

47


ดาวน์โหลด ppt การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google