บทบาทและหน้าที่ของ สมอ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
Advertisements

ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP)
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
ขั้นตอน วิธีการ ดำเนินการ การนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ ภายใต้ MOU นำเข้า MOU 4 Nov 16.
กลุ่มเกษตรกร.
นายทะเบียนแจ้งผลการจองชื่อ
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กรณีกองทุนหมู่บ้าน. กรณีกองทุนหมู่บ้าน กรณีกองทุนหมู่บ้าน (ต่อ) ตามหนังสือที่ พณ /1099 ลงวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
จังหวัดสมุทรปราการ.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทและหน้าที่ของ สมอ. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) http://www.tisi.go.th/

สำนักมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (กมอ.) สำนักมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขาธิการ รองเลขาธิการ 1 รองเลขาธิการ 2 กองกำหนดมาตรฐาน กองควบคุมมาตรฐาน กองตรวจการมาตรฐาน 1 กองตรวจการมาตรฐาน 2 กองตรวจการมาตรฐาน 3 กองส่งเสริมและ พัฒนาด้านการมาตรฐาน กองบริหารมาตรฐานระหว่างประเทศ สนง.เลขานุการกรม กองกฎหมาย กองบริหารมาตรฐานชุมชน กองบริหารยุทธศาสตร์ กลุ่ม ที่ปรึกษา กลุ่มผู้ตรวจสอบสอบภายใน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สนง.คณะกรรมการการมาตรฐานแห่งชาติ

วัตถุประสงค์การดำเนินงานของ สมอ. 1. คุ้มครองผู้บริโภค 2. รักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 3. พัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศให้สามารถแข่งขัน ในตลาดโลก 4. สร้างความเป็นธรรมในการซื้อขาย ขจัดปัญหาและ อุปสรรคทางการค้าอันเนื่องมาจากมาตรฐาน

ภารกิจสำคัญด้านการมาตรฐาน กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) กำหนดให้ผลิตภัณฑ์ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน (มอก.บังคับ) รับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จดทะเบียนผลิตภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่ได้ กำหนดมาตรฐาน

ภารกิจสำคัญด้านการมาตรฐาน (ต่อ) 5. การรับรองห้องปฏิบัติการ 6. การรับรองและการเป็นหน่วยตรวจสอบในระบบการ รับรองของต่างประเทศ 7. กิจกรรมมาตรฐานระหว่างประเทศ 8. การปฏิบัติตามพันธกรณีตามความตกลง ภายใต้องค์การการค้าโลก 9. การเผยแพร่ ส่งเสริม สนับสนุนด้านการมาตรฐาน

กิจกรรมหลัก 1. กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) 2. ให้การรับรองมาตรฐานเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมอุตสาหกรรม

กิจกรรม : กำหนดมาตรฐาน วิธีดำเนินการ จัดทำโดยการประชุมคณะกรรมการวิชาการ (กว.) กว. ประกอบด้วย บุคคล 3 ฝ่าย คือ ผู้ใช้ ผู้ทำ และนักวิชาการ ในสัดส่วนที่เท่ากัน พิจารณาตัดสินด้วยวิธีเห็นพ้องต้องกัน

มาตรฐานทั่วไปจำนวน 2946 มอก. มาตรฐานบังคับจำนวน 107 มอก. จำนวนมาตรฐาน มาตรฐานทั่วไปจำนวน 2946 มอก. มาตรฐานบังคับจำนวน 107 มอก.

1. มาตรฐานไม่บังคับ (ทั่วไป) มอก. มีกี่ประเภท ? 1. มาตรฐานไม่บังคับ (ทั่วไป) 2. มาตรฐานบังคับ

มาตรฐานไม่บังคับ(ทั่วไป) “มาตรฐานลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ สมอ.จัดทำและประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม”

มาตรฐานบังคับ “เพื่อความปลอดภัย หรือเพื่อป้องกันความเสียหายอันอาจจะเกิดแก่ประชาชน หรือแก่กิจการอุตสาหกรรม หรือเศรษฐกิจของประเทศและสิ่งแวดล้อม”

ผลการประกาศมาตรฐานบังคับ ผู้ผลิตต้องขอรับใบอนุญาตทำก่อน ทำการผลิต ผู้นำเข้าต้องขออนุญาตก่อนนำเข้ามาจำหน่าย หลังได้รับใบอนุญาตต้องทำ/นำเข้าผลิตภัณฑ์ที่ เป็นไปตามมาตรฐาน *สินค้าต้องแสดงเครื่องหมายมาตรฐานทุกหน่วย*

กิจกรรม : การตรวจสอบรับรองของ สมอ. 1. การอนุญาต 2. การตรวจติดตาม

การอนุญาต การอนุญาตให้แสดงเครื่องหมาย มอก. (ทั่วไป) ตามมาตรา 16 การอนุญาตให้แสดงเครื่องหมาย มอก. (ทั่วไป) ตามมาตรา 16 อนุญาตให้ทำผลิตภัณฑ์ ตามมาตรา 20 มาตรฐานบังคับ อนุญาตให้นำเข้าผลิตภัณฑ์ ตามมาตรา 21

การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ หลักการ โรงงานมีขีดความสามารถในการทำและควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ “การตรวจประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของ ผู้ผลิตทั้งในและต่างประเทศ” 2. ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพเป็นไปตามที่มาตรฐานกำหนด “เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทดสอบ”

การตรวจสอบเพื่อพิจารณาออกใบอนุญาต คำขอ ตรวจประเมินระบบ QC ประเมินผลิตภัณฑ์ ไม่ผ่าน ตรวจประเมินตาม หลักเกณฑ์เฉพาะฯ ไม่อนุญาต ไม่ผ่าน เก็บตัวอย่างตรวจสอบตาม มอก.. ผ่าน ผ่าน ออกใบอนุญาต

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต สมอ.ประกาศหลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต เดิม 2 ฉบับ 1. หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตฉบับลงวันที่ 20 เมษายน 2554 2. ประกาศหลักเกณฑ์เพิ่มเติมฉบับวันที่ 17 สิงหาคม 2557 สมอ.ประกาศยกเลิกหลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต เดิม 2 ฉบับ และประกาศใหม่ ลงวันที่ 8 ตุลาคม 2558 มีผลวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตฉบับ วันที่ 8 ตุลาคม 2558 ประกาศหลักเกณฑ์ฯ แยกเป็น 3 ฉบับ 1. หลักเกณฑ์การออกใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน ตามมาตรา 16 2. หลักเกณฑ์การอนุญาตทำ ตามมาตรา 20 3. หลักเกณฑ์การอนุญาตนำเข้า ตามมาตรา 21

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต ฉบับที่ 1 มาตรา 16 การอนุญาตมี 2 แบบ แบบที่ 1 : การอนุญาตทั่วไป Type 5 มี 3 วิธี แบบที่ 2 : การอนุญาตโดยใช้เอกสารรับรอง ตนเอง (SDoC) Supplier Declaration of Conformity

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตตามมาตรา 16 วิธีที่ 1 : ประกอบด้วย 2 กิจกรรม 1.ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ Lab มาตรา 5 Labที่ได้รับการรับรอง17025 Lab โรงงาน+เจ้าหน้าที่ควบคุม Lab อื่นๆ ที่สมอ.ยอมรับ อาจส่งตรวจสอบก่อนยื่นคำขอ < 1ปี 2.ประเมินโรงงาน เจ้าหน้าที่ สมอ./IB ตรวจหลังยื่น คำขอ IB ตรวจไว้ก่อนยื่นคำขอ แบบที่ 1 : การอนุญาต ทั่วไป มี 2 วิธี 46 วันทำการ 26 วันทำการ

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตตามมาตรา 16 วิธีที่ 2 : ยอมรับใบรับรอง ผู้ยื่นคำขอยื่นใบรับรองจากหน่วยตรวจสอบ รับรอง (CAB) ที่ สมอ.แต่งตั้ง แนวทาง 1.ตรวจสอบ/สอบถาม สมอ.รายชื่อCAB / ขอบข่าย 2.ยื่นขอรับใบรับรองจาก CAB ขอบข่าย การ อนุญาตของ สมอ. 3.ได้รับใบรับรองจาก CAB 4.ยื่นใบรับรองที่สมอ. สมอ.ออกใบอนุญาต เงื่อนไข ต้องส่งมอบใบรับรองใหม่ ภายใน 30 วันหลัง ใบรับรองฉบับเดิมสิ้นอายุ แบบที่ 1 : การอนุญาต ทั่วไป วิธีที่ 2 15 วันทำการ

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตตามมาตรา 16 แบบที่ 2 : การอนุญาต โดยใช้ เอกสาร รับรอง ตนเอง (SDoC) SDoC : ผู้ยื่นคำขอต้องส่งมอบเอกสาร 1.รายงานผลการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ Lab มาตรา 5 Labที่ได้รับการรับรอง17025 Lab อื่นๆ ที่สมอ.ยอมรับ 2.ใบรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ มอก.9001 หรือ ISO 9001 จาก หน่วยงานที่สมอ.ยอมรับ/MRA เงื่อนไข ต้องตรวจติดตามผลิตภัณฑ์โดยมิ ชักช้า 15 วันทำการ

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต มาตรา 20 มาตรา 16 และมาตรา 20 เหมือนกันทุก ประการ ยกเว้น 1.การทำตัวอย่างเพื่อส่งตรวจสอบ กรณีผู้ทำ จะทำตัวอย่างส่งตรวจสอบทุกครั้งต้องมี หนังสือขออนุญาตทำตัวอย่าง 2.สมอ.อนุญาตทำตัวอย่าง กำหนด จำนวน และ ระยะเวลา 3.ผู้ประกอบการทำตัวอย่าง จำนวน+เวลา ตามที่ กำหนดในหนังสืออนุญาตให้ทำตัวอย่าง

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต ฉบับที่ 2 มาตรา 20 การอนุญาตมี 2 แบบ แบบที่ 1 : การอนุญาตทั่วไป Type 5 มี 2 วิธี แบบที่ 2 : การอนุญาตโดยใช้เอกสารรับรอง ตนเอง (SDoC) Supplier Declaration of Conformity

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตตามมาตรา 20 วิธีที่ 1 : ประกอบด้วย 2 กิจกรรม 1.ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ Lab มาตรา 5 Labที่ได้รับการรับรอง17025 Lab โรงงาน+เจ้าหน้าที่ควบคุม Lab อื่นๆ ที่สมอ.ยอมรับ อาจส่งตรวจสอบก่อนยื่นคำขอ < 1ปี 2.ประเมินโรงงาน เจ้าหน้าที่ สมอ./IB ตรวจหลังยื่น คำขอ IB ตรวจไว้ก่อนยื่นคำขอ แบบที่ 1 : การอนุญาต ทั่วไป มี 2 วิธี 46 วันทำการ 26 วันทำการ

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตตามมาตรา 20 วิธีที่ 2 : ยอมรับใบรับรอง ผู้ยื่นคำขอยื่นใบรับรองจากหน่วยตรวจสอบ รับรอง (CAB) ที่ สมอ.แต่งตั้ง แนวทาง 1.ตรวจสอบ/สอบถาม สมอ.รายชื่อCAB / ขอบข่าย 2.ยื่นขอรับใบรับรองจาก CAB ขอบข่าย การ อนุญาตของ สมอ. 3.ได้รับใบรับรองจาก CAB 4.ยื่นใบรับรองที่สมอ. สมอ.ออกใบอนุญาต เงื่อนไข ต้องส่งมอบใบรับรองใหม่ ภายใน 30 วันหลัง ใบรับรองฉบับเดิมสิ้นอายุ แบบที่ 1 : การอนุญาต ทั่วไป วิธีที่ 2 15 วันทำการ

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตตามมาตรา 20 แบบที่ 2 : การอนุญาต โดยใช้ เอกสาร รับรอง ตนเอง (SDoC) SDoC : ผู้ยื่นคำขอต้องส่งมอบเอกสาร 1.รายงานผลการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ Lab มาตรา 5 Labที่ได้รับการรับรอง17025 Lab อื่นๆ ที่สมอ.ยอมรับ 2.ใบรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ มอก.9001 หรือ ISO 9001 จาก หน่วยงานที่สมอ.ยอมรับ/MRA เงื่อนไข ต้องตรวจติดตามผลิตภัณฑ์โดยมิ ชักช้า 15 วันทำการ

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต ฉบับที่ 3 นำเข้าตามมาตรา 21 การอนุญาตมี 3 แบบ แบบที่ 1 : การอนุญาตทั่วไป Type 5 มี 2 วิธี แบบที่ 2 : การอนุญาตโดยใช้เอกสารรับรอง ตนเอง (SDoC) Supplier Declaration of Conformity แบบที่ 3 : การอนุญาตนำเข้าเฉพาะครั้ง

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตตามมาตรา 21 วิธีที่ 1 : ประกอบด้วย 2 กิจกรรม 1.ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ Lab มาตรา 5 Labที่ได้รับการรับรอง17025 Lab โรงงาน+เจ้าหน้าที่ควบคุม Lab อื่นๆ ที่สมอ.ยอมรับ อาจส่งตรวจสอบก่อนยื่นคำขอ อายุ < 1ปี 2.ประเมินโรงงาน เจ้าหน้าที่ สมอ./IB ตรวจหลังยื่นคำขอ IB ตรวจไว้ก่อนยื่นคำขอ นำเข้าจากโรงงานที่ขึ้นทะเบียนกับ สมอ. แบบที่ 1 : การอนุญาต ทั่วไป มี 2 วิธี 46 วันทำการ 26 วันทำการ

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตตามมาตรา 21 วิธีที่ 2 : ยอมรับใบรับรอง ผู้ยื่นคำขอยื่นใบรับรองจากหน่วยตรวจสอบ รับรอง (CAB) ที่ สมอ.แต่งตั้ง/ภายใต้ AEC แนวทาง 1.ตรวจสอบ/สอบถาม สมอ.รายชื่อ CAB / ขอบข่าย 2.ยื่นขอรับใบรับรองจาก CAB ขอบข่าย การ อนุญาตของ สมอ. 3.ได้รับใบรับรองจาก CAB 4.ยื่นใบรับรองที่สมอ. สมอ.ออกใบอนุญาต เงื่อนไข ต้องส่งมอบใบรับรองใหม่ ภายใน 30 วันหลัง ใบรับรองฉบับเดิมสิ้นอายุ แบบที่ 1 การอนุญาต ทั่วไป : วิธีที่ 2 15 วันทำการ

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตตามมาตรา 20 SDoC : ผู้ยื่นคำขอต้องส่งมอบเอกสาร 1.รายงานผลการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ Lab มาตรา 5 Labที่ได้รับการรับรอง17025 Lab อื่นๆ ที่สมอ.ยอมรับ 2.ใบรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ มอก.9001 หรือ ISO 9001 จาก หน่วยงานที่สมอ.ยอมรับ/MRA เงื่อนไข ต้องตรวจติดตามผลิตภัณฑ์โดยมิ ชักช้า แบบที่ 2 : การอนุญาต โดยใช้ เอกสาร รับรอง ตนเอง (SDoC) 15 วันทำการ

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาตตามมาตรา 20 แบบที่ 3 : การอนุญาต นำเข้าเฉพาะ ครั้ง นำเข้าเฉพาะครั้ง : ตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์อย่างเดียว สมอ.เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ นำเข้ามาแล้วส่งตรวจสอบ ผลผ่านออกใบอนุญาต ใบอนุญาตระบุ จำนวน+ หมายเลข Invoice การตรวจติดตามอาจติดตามจาก สถานที่จำหน่าย 46 วันทำ การ

หลักเกณฑ์การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต ฉบับลงวันที่ 8 ตุลาคม 2558 แก้ไขข้อกำหนดกิจกรรมจาก 12 ข้อ เป็น 5 ข้อ ดังนี้ 1.การจัดซื้อและการควบคุมวัตถุดิบ 2.การควบคุมกระบวนการผลิต 3.การควบคุมผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป 4.การควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตาม ข้อกำหนด 5.การควบคุม เครื่องตรวจ เครื่องวัดและ เครื่องทดสอบ

หลักเกณฑ์เฉพาะในการการตรวจสอบเพื่อการอนุญาต หลักเกณฑ์การ อนุญาตตาม มาตรา 16 หลักเกณฑ์เฉพาะแต่ละ ผลิตภัณฑ์ หลักเกณฑ์การ อนุญาตตาม มาตรา 20 1. แบบทั่วไป กำหนดไว้ในทุก มอก. 2. SDoC กำหนดไว้บาง มอก.ผลิตภัณฑ์มีความเสี่ยงต่ำ 3. นำเข้าเฉพาะครั้งบาง มอก. หลักเกณฑ์การ อนุญาต ตาม มาตรา 21

เรื่องอื่นๆ 1.การขึ้นทะเบียนโรงงาน สมอ.ได้ขึ้นทะเบียนโรงงานผุ้ทำในต่างประเทศ จำนวน 2080 โรงงาน (เฉพาะมาตรฐานบังคับ) 2.การยื่นขอกรณี SDoC ยื่นใบรับรอง 9001 ต้องมี หนังสือรับรองการค้าขายกับโรงงานผู้ทำที่ลงนาม โดยผู้มีอำนาจลงนาม 3.ยื่นคำขอกรณีอ้างอิงโรงงานที่ขึ้นทะเบียนต้องมี หนังสือรับรองการค้าขายกับโรงงานที่ขึ้นทะเบียนที่ ลงนามโดยผู้มีอำนาจลงนาม

การปฏิบัติตัวภายหลังรับใบอนุญาต 1.ปฏิบัติตามเงื่อนไขการออกใบอนุญาต (มาตรา 2 5 ทวิ) 2.ต้องทำผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย่างสม่ำเสมอ 3.ต้องแสดงเครื่องหมายมาตรฐานก่อนนำออก จากสถานที่ผลิต/รับมอบจากเจ้าพนักงาน ศุลกากร (ม.บังคับ) มาตรา 33 4.แสดงเครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับใบอนุญาตและเป็นไปตามมาตรฐาน (ม.ทั่วไป)

การปฏิบัติตัวภายหลังรับใบอนุญาต 1. เงื่อนไขการออกใบอนุญาต ต้องได้รับการตรวจติดตามภายหลังรับใบอนุญาต มีการควบคุมคุณภาพตามข้อกำหนดกิจกรรม มีการควบคุม/ตรวจสอบ/ทดสอบตาม R มีเครื่องมือทดสอบตามที่กำหนดใน R เป็นอย่างน้อย ต้องแจ้งสมอ.ทราบทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลที่มีผลกับคุณภาพผลิตภัณฑ์ ต้องแจ้งจำนวนผลิตภัณฑ์ทุก 6 เดือน(ผู้ทำ) ทุกครั้ง ที่นำเข้า(นำเข้า) ต้องบันทึกและจัดเก็บข้อร้องเรียน ต้องชำระค่าตรวจสอบผลิตภัณฑ์ภายใน 15 วัน

ฉลากและการแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน การแสดงฉลาก มอก.กำหนด การแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน พรบ.และกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง

ฉลากและการแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน ลักษณะเครื่องหมายมาตรฐาน กรณีมาตรฐานบังคับ ผู้รับใบอนุญาตทุกราย ต้องแสดงเครื่องหมายมาตรฐานบนผลิตภัณฑ์ทุกชิ้น กฎกระทรวงหลักเกณฑ์วิธีการเกี่ยวกับการแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน หลักเกณฑ์การใช้ชื่อย่อ

การแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน 1.ต้องแสดงให้เห็นเด่นชัดที่ผลิตภัณฑ์และจะแสดงที่สิ่งห่อหุ้มด้วยก็ได้ 2.สิ่งบรรจุห่อหุ้มถ้ามิอาจแสดงที่ผลิตภัณฑ์หรือไม่สะดวก 3.ให้ระบุหมายเลข มอก.ไว้ข้างๆหรือใต้เครื่องหมาย 4.กรณีได้รับใบอนุญาต 2 มอก.ขึ้นไปให้ระบุหมายเลขมอก.ไว้ใกล้เคียงกัน 5.แสดงชื่อผู้รับใบอนุญาต/ชื่อย่อ/เครื่องหมายการค้าจดทะเบียนไว้ใกล้เคียงเครื่องหมาย มอก. กฎกระทรวงหลักเกณฑ์วิธีการเกี่ยวกับการแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน

ฉลากและการแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน หลักเกณฑ์การใช้ชื่อย่อ 1. ต้องย่อมาจากชื่อ เต็มต้องเป็นไทยล้วน หรือโรมันล้วนและ ต้องมี 2 ตัวขึ้นไป 2. ชื่อย่อไทยและโรมัน ไม่เกินอย่างละ 1 ชื่อ 3. ชื่อย่อต้องไม่ซ้ำกับ ผู้อื่นที่ได้เคยให้ไว้แล้ว 4.ต้องยื่นขอที่ สมอ.

ชื่อผู้รับใบอนุญาต/ชื่อย่อ/เครื่องหมายการค้าจดทะเบียน การแสดงเลขที่ มอก. มอก.344-2530 ชื่อผู้รับใบอนุญาต/ชื่อย่อ/เครื่องหมายการค้าจดทะเบียน

กรณีอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้น ใบอนุญาตหาย/ชำรุดมาก 1.แจ้งความ(หาย) 2.ยื่นคำขอใบแทนใบอนุญาต มีผู้อื่นมาซื้อและโอนกิจการสถานที่เดิม 1.โอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน 2.ยื่นคำขอโอน 3.สมอ.จะโอนให้ภายใน 30 วันทำการ 1.มีใบอนุญาตประกอบกิจการที่ใหม่ 2.ยื่นคำขอย้าย 3.ตรวจโรงงาน/ออกใบอนุญาต ย้ายสถานที่ที่ระบุในใบอนุญาต

กรณีอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้น(ต่อ) เปลี่ยนแปลงเลขที่ตั้งที่ระบุไว้ในใบอนุญาต แจ้งสมอ.เพื่อทราบ กองตรวจการ แจ้งสมอ.เพื่อทราบ กองตรวจการ ผู้นำเข้าเปลี่ยนที่ตั้งสนง.ใหญ่

การดำเนินงานของมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ส่วนกลาง : กองบริหารมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน อัตรากำลัง 34 อัตรา ส่วนภูมิภาค : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด อัตรากำลัง(จ้างเหมาบริการ) 76 อัตรา - หน่วยรับรอง (รับคำขอ ตรวจสถานที่ เก็บตัวอย่างส่งหน่วยตรวจสอบ ประเมินผล ออกใบรับรอง และตรวจติดตามผล) : 20 จังหวัด ได้แก่ กระบี่ จันทบุรี เชียงใหม่ ตรัง นครศรีธรรมราช นครสวรรค์ นราธิวาส พะเยา พังงา พัทลุง พิจิตร พิษณุโลก ภูเก็ต ระยอง ลำปาง ศรีสะเกษ สงขลา สตูล อำนาจเจริญ อุบลราชธานี - หน่วยตรวจ (รับคำขอ ตรวจสถานที่ เก็บตัวอย่างส่งหน่วยตรวจสอบ และตรวจติดตามผล) : 56 จังหวัด

การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน ผลการดำเนินงานในรอบ 6 เดือน ปี 2559 การกำหนดมาตรฐาน จำนวนมาตรฐานที่มีทั้งหมด 1,360 เรื่อง ในรอบ 6 เดือน กำหนดแก้ไขมาตรฐานด้วยการสัมมนาบูรณาการทางวิชาการผลิตภัณฑ์เครื่องดนตรี เครื่องหนัง จักสาน และอาหาร (ขนมจากธัญพืช) จำนวน 6 ครั้ง 117 เรื่อง การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน ให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ยัง ไม่หมดอายุจำนวน 13,710 ราย ในรอบ 6 เดือน ให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนแล้ว 2,413 ราย ตรวจติดตามผลแล้วจำนวน 25,620 ราย ในรอบ 6 เดือน ตรวจติดตามผล 869 ราย

การพัฒนาผู้ผลิตชุมชน ผลการดำเนินงานในรอบ 6 เดือน ปี 2559 (ต่อ) การพัฒนาผู้ผลิตชุมชน โดยการจัดหลักสูตรการอบรมด้านการควบคุมคุณภาพ ข้อกำหนดทางกฏหมาย และสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดได้ จัดที่ - จังหวัดแม่ฮ่องสอน วันที่ 19-21 มกราคม 2559 จำนวน 263 ราย - จังหวัดเชียงราย วันที่ 16-18 กุมภาพันธ์ 2559 จำนวน 502 ราย - จังหวัดตาก วันที่ 2-4 มีนาคม 2559 จำนวน 448 ราย - จังหวัดสุพรรณบุรี วันที่ 29-31 มีนาคม 2559 จำนวน 537 ราย มีผู้ผลิตชุมชนได้รับความรู้แล้ว 1,750 ราย สัมมนาครั้งต่อไปจัดที่จังหวัดเพชรบูรณ์ วันที่ 25-27 เมษายน 2559

แนวทางการดำเนินงานในปี 2559 ตัวชี้วัดภารกิจหลักของ อก. ตามแนวทางการขับเคลื่อนประเทศ/ยุทธศาสตร์กระทรวง : ร้อยละของจำนวนผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน 76.74 รณรงค์ให้ผู้ผลิตแสดงเครื่องหมาย มผช. กับผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองด้วยการแจกสติกเกอร์เครื่องหมาย มผช. ที่มี QR Code แสดงข้อมูลการได้รับการรับรอง มผช. บน เว็บไซด์ สมอ. การส่งเสริมประชาสัมพันธ์การใช้สินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการจัดงานแสดงสินค้าและนิทรรศการ ของผู้ที่ได้รับการรับรองทั่วประเทศจำนวน 2 ครั้ง

แนวทางการดำเนินงานในปี 2560 ขอกรอบอัตรากำลัง พนักงานราชการ รอบที่ 4 เพื่อ ปฏิบัติงานทั่วประเทศ เพิ่มศักยภาพเศรษฐกิจของประเทศด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผลิตสินค้า ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานด้วยการขอ มผช. ผลักดันให้ผู้ผลิตพัฒนาคุณภาพให้สม่ำเสมอเป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ

Http://www.tisi.go.th