และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557 รายงานผลการวิเคราะห์สุขภาพประชาชนที่มาเข้ารับบริการสุขภาพโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขด้วยโรคระบบทางเดินหายใจที่เกี่ยวข้องกับการได้รับสัมผัสฝุ่นละออง (PM10) อ.พระพุทธบาท และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี
หัวข้อการนำเสนอ ข้อมูลสิ่งแวดล้อม: คุณภาพอากาศ ข้อมูลสุขภาพ การเปรียบเทียบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ข้อมูลสิ่งแวดล้อม: คุณภาพอากาศ
ข้อมูลคุณภาพอากาศ ที่มา: เวบไซต์สำนักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ http://aqnis.pcd.go.th/
ข้อมูลคุณภาพอากาศ (ต่อ) แสดงที่ตั้งของสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค 7 จังหวัดสระบุรี= วัดหน้าพระลานและ รร.บ้านคุ้งเขาเขียว สำนักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง= สภต.หน้าพระลานและ สถานีดับเพลิงเขาน้อย (ที่มา: รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อม พ.ศ.2556)
ข้อมูลคุณภาพอากาศ (ต่อ) แผนภูมิแสดงผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอากาศ (ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM10) ทั้ง 4 จุด จ.สระบุรี ปี 2557: ค่าสูงสุดในแต่ละเดือน ที่มา: สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค 7 จังหวัดสระบุรี= วัดหน้าพระลานและ รร.บ้านคุ้งเขาเขียว สำนักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง= สภต.หน้าพระลานและ สถานีดับเพลิงเขาน้อย
ข้อมูลคุณภาพอากาศ (ต่อ) แผนภูมิแสดงผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอากาศ (ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM10) บริเวณสถานีตำรวจภูธรตำบลหน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี และ บริเวณสถานีดับเพลิงเขาน้อย อ.เมือง จ.สระบุรี ปี 2555- 2557 ที่มา: เวบไซต์สำนักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ http://aqnis.pcd.go.th/
ข้อมูลคุณภาพอากาศ (ต่อ) แผนภูมิแสดงผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอากาศ (ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM10) บริเวณสถานีตำรวจภูธรตำบลหน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2549- 2557 ที่มา: เวบไซต์สำนักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ http://aqnis.pcd.go.th/
ข้อมูลสุขภาพ
ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลสุขภาพประชาชนที่เข้ารับบริการสุขภาพจากโรงพยาบาลรัฐฯด้วยกลุ่มโรคทางเดินหายใจ อ.พระพุทธบาท อ.เฉลิมพระเกียรติ ปี 2557 ที่มาจาก: 1 กลุ่มงานอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลพระพุทธบาท (OPD+IPD) 2 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.2 รง.506 (ฐานข้อมูล รพ.สระบุรีและรพ.พระพุทธบาท)
กลุ่มโรคที่ทำการวิเคราะห์ พิจารณากลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ(Non-Infectious) ดังนี้ 1.Pneumonia : ปอดบวม 2.Asthma : หอบหืด 3.COPD :โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 4.Bronchiolitis : หลอดลมอักเสบ 5.Lower Respiratory Tract (LRI) ที่มารูปภาพ: Dust and Occupational Health Effects (จาก Web Central Pollution Control board www.cpcb.nic.in)
กลุ่มโรคที่ทำการเฝ้าระวัง กรณีตัวอย่าง หมอกควันภาคเหนือ (สคร.10 จังหวัดเชียงใหม่)
กลุ่มโรคที่ทำการเฝ้าระวัง (ต่อ) กรณีตัวอย่าง หมอกควันภาคเหนือ (สคร.10 จังหวัดเชียงใหม่)
ที่มา: กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลพระพุทธบาท 2558
แผนภูมิแสดงอัตราชุก Pneumonia จำแนกรายเดือน อ. พระพุทธบาท และ อ
การเปรียบเทียบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
มาตรการดำเนินงานด้านผลกระทบต่อสุขภาพ ลำดับ มาตรการ หมายเหตุ การพัฒนาระบบคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยง (เช่น ผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง ประชาชนกลุ่มเสี่ยง) และการจัดทำทะเบียนผู้ป่วยเพื่อให้การดูแล ติดตาม รักษา อย่างต่อเนื่อง การสื่อสารความเสี่ยง ให้ความรู้เพื่อป้องกันตนเอง และลดการได้รับสัมผัสสารมลพิษต่างๆ การสนับสนุนเวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ (เช่น หน้ากาก) เพื่อเตรียมความพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในระยะที่มีปัญหาฝุ่นเกินค่ามาตรฐาน การพัฒนาระบบรายงานการเจ็บป่วยจากสถานบริการสุขภาพในแต่ละช่วงเวลา ระยะที่มีปัญหาฝุ่น (ต.ค.-มี.ค) ระยะปกติ (เม.ย.-ส.ค.) การพัฒนาแนวทางการวินิจฉัยผู้ป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจ เช่น โรคปอดจากการประกอบอาชีพ (Pneumoconiosis) โรคปอดฝุ่นทราย (Silicosis) เป็นต้น