การประเมินสภาวะของผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
INTRODUCTION TO PHYSICAL MEDICINE AND REHABILITATION
Advertisements

โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ
Pre hospital and emergency room management of head injury
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
A riddle: A wolf, a sheep and a cabbage Need to cross the river. How can you bring them across, one by one without the sheep eating the cabbage, Nor the.
Part II: Classification of polymer
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
รายงานและการบันทึกข้อมูล Functional + SpecialPP
Family assessment and Home health care
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายป้องกันและปราบรามการทุจริต
Microsoft Excel เบื้องต้น
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
intra-abdominal compartment syndrome (ACS )
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติ
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
งานจัดการเรียนการสอน
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
บทบาทการดูแลผู้สูงอายุ โดย อ.ชุติมา รักษ์บางแหลม
ภารกิจในการจัดการด้านความมั่นคงชายแดน ส่วนกิจการชายแดนและผู้อพยพ
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
งานเงินสมทบ การตรวจสอบ และงานกฎหมาย
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
Siriraj Patient Classification
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
บทที่ 2 การดูแลความสะอาดสุขสบาย
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
Delirium in critical patient
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
ก๊าซธรรมชาติ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
การใช้โปรแกรม Care Manager เพื่อช่วย Care manager ในการบริหารจัดการ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LCT ) จังหวัดกำแพงเพชร
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
สร้างเครือข่ายในชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
ผลการพัฒนาถุงรองรับน้ำย่อย จากกระเพาะอาหาร
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
งานสุดยอดแบรนด์ไทย (Top Thai Brands) ครั้งที่ 2 30 กย – 4 ตค
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
สมชาย ละอองพันธ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินสภาวะของผู้สูงอายุ อาจารย์วิรงค์รอง ชมภูมิ่ง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี

แบ่งประเภทผู้สูงอายุตามเกณฑ์ สปสช. ADL, IADL, TAI แบ่งประเภทผู้สูงอายุตามเกณฑ์ สปสช. กิจกรรม

ADL Feeding Grooming Transfer Toilet use Mobility Dressing Stairs Bathing Bowels Bladder คะแนนเต็ม 20 คะแนน 12-20 ติดสังคม 5-11 ติดบ้าน 0-4 ติดเตียง

IADL การเดินทาง การจับจ่ายซื้อของ การบริหารเงิน การทำอาหาร การทำความสะอาดบ้าน การใช้โทรศัพท์ คะแนนเต็ม 12 คะแนน 9-12 ติดสังคม 3-8 ติดบ้าน 0-2 ติดเตียง

TAI Mobility Mental status Eating Toilet คะแนน 0-5 B = Border C = Confused I = Immobile

5 4 3 2 1 Mobility = M Eating = F Toilet = T Mental/Confuse= C Mobility = M เดินขึ้นบันไดได้ ขึ้นบันไดไม่ได้ แต่เดินทางราบได้โดยไม่ต้องช่วย เดินทางราบได้โดยต้องช่วย ลุกนั่งและลงมายืนข้างเตียงได้ นอนบนเตียงตะแคงไปมาได้ นอนบนเตียงตะแคงไม่ได้ Mental/Confuse= C ไม่มีปัญหาเรื่องความจำ/การตัดสินใจ Orientation & พฤติกรรม มีปัญหาเรื่องการตัดสินในและความจำ (ด้านพฤติกรรมปกติ) ไม่มีปัญหาเรื่อง Orientation แต่มีปัญหาพฤติกรรมจนสร้างความรำคาญ มีปัญหาเฉพาะเรื่อง Orientation อย่างรุนแรง มีปัญหาทั้ง Orientation อย่างรุนแรงและปัญหาพฤติกรรม No Response Eating = F กินได้เองไม่หกเลอะเทอะ กินได้เอง หกเลอะเทอะ ต้องป้อน แต่กลืนได้เองปกติ ต้องป้อนและกลืนลำบาก NG IV Toilet = T ไปห้องน้ำเองได้ ถ่ายสำเร็จทุกครั้งใน 2 อาทิตย์ที่ผ่านมา ไปห้องน้ำเองได้ แต่ถ่ายไม่สำเร็จเป็นบางครั้ง ต้องช่วยประคองไปห้องน้ำและช่วยจัดการหลังถ่ายเสร็จ ใส่/เปลี่ยนผ้าอ้อมไม่ลำบาก ต้องช่วยบ้าง ใส่/เปลี่ยนผ้าอ้อมด้วยความยากลำบาก คาสายสวน

Mobility (5,4,3) Mobility (2,1,0) Confuse (5,4) Confuse (3,2,1,0) Classified Disability of Elderly by TAI Mobility (5,4,3) Mobility (2,1,0) Confuse (5,4) Confuse (3,2,1,0) F=5 ,T=5 M=5,M=5 F ≥ 4 T ≥ 4 F ≤ 3 T ≤ 3 F ≥ 4 T ≥ 4 F 4 T3 F3 T4 F ≤ 3 T ≤ 3 F4 F3 F 0,1,2 B3 C3 C2 I3 I2 B5 B4 C4 I1 M=Mobility , M=Mental status F= Feeding Eating ,T=Toilet

C I B Classification Fragile Care needed Independent B5 C4 B4 C3 I3 B3 今回の調査では、TAIのB5タイプを自立、B4タイプを虚弱、B3またはC4以下を要介護状態と判定しました。 (スライドお願いします) C2 I2 I1

การจำแนกกลุ่มประเภทการให้บริการทาง ด้านสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ แบ่งผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เป็น 4 กลุ่ม กลุ่มติดบ้าน (ADL 5-11 คะแนน) - กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่าย ไม่มีภาวะสับสน - กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่เคลื่อนไหวได้บ้าง มีภาวะสับสน สมองเสื่อม กลุ่มติดเตียง (ADL 0-4 คะแนน) - กลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ อาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง - กลุ่มที่ 4 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ เจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ในระยะท้ายของชีวิต

การแบ่งประเภทผู้สูงอายุตามเกณฑ์ สปสช. ADL และ TAI กลุ่ม 1 ติดบ้าน (B3) เคลื่อนไหวเองได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสน เดือนละ 1 ครั้ง ( ไม่เกิน4000 บาท/คน/ปี ) 40 mins กลุ่ม 2 ติดบ้าน (C2,C3,C4) เคลื่อนไหวเอง ได้บ้าง และอาจ มีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย มีภาวะสับสน เดือนละ 1 ครั้ง (60 นาที (3,000-6000 บาท /คน/ปี ) กลุ่ม 3 ติดเตียง (I3) เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง เดือนละ 1 ครั้ง (4,000-8000 บาท /คน/ปี ) 40 นาที กลุ่ม 4 ติดเตียง (I1,I2) เคลื่อนไหวเองไม่ได้ มีปัญหาการรับประทานอาหาร เดือนละ ๒ ครั้ง 60 นาที (5,000- 10,000 บาท)

Case อายุ ปี 1. การประเมิน ADL, และ TAI อยู่ระดับใด รวมคะแนน /20 คะแนน 1. เคลื่อนไหว 6. การกลั้นอุจจาระ 2. การลุกจากที่นอน 7. การอาบน้ำ 3. การขึ้น-ลงบันได 1 ขั้น 8. การแต่งกาย 4. การใช้ห้องน้ำ 9. การสวมใส่เสื้อผ้า 5. การกลั้นปัสสาวะ 10. การรับประทานอาหาร รวมคะแนน /20 คะแนน

จำแนกประเภทผู้สูงอายุ TAI B…………. C…….. I …… เพราะ