บทที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ- (Information Technology (IT))- 3 wave * Competitive Advantage => ความได้เปรียบในการแข่งขัน * Paradigm => กระบวนทัศน์ * Proactive / Reactive ( เชิงรุก / เชิงรับ ) * *
IT มีองค์ประกอบ 3 ประการ: 1. ระบบประมวลผล Manual => Computer 2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม Wire => Wireless 3. การจัดการฐานข้อมูล Database
ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 1. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit(CPU)) 2. หน่วยนำเข้า (Input Unit) 3. หน่วยจัดเก็บ (Storage Unit) 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit)
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit (CPU)) ประกอบด้วย 2 ส่วน : * หน่วยคำนวณหรือส่วนคำนวณตรรกะ (Arithermatic-Logic Unit (ALU)) ทำหน้าที่ในการคำนวณและการเปรียบเทียบ
หน่วยประมวลผลกลาง(CPU) (ต่อ) * หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่ควบคุมการรับคำสั่ง และข้อมูลเพื่อประสานงานกับหน่วยอื่น ๆ
- เลขฐานสอง ==> 0 และ 1 เลขฐาน 10 ==> เลขฐาน 2 ???? เช่น 103 => 1100111 เลขฐาน 2 ==> เลขฐาน 10 ??? เช่น 11010 => 26 คอมพิวเตอร์แสดงข้อมูลอย่างไร? - 8 บิต ==> 1 ไบต์ ( 1 ตัวอักษร)
รหัสมาตราฐานของเลขฐานสอง 1. รหัส EBCDIC A==> 1100 0001 2. รหัส ASCII A==> 1010 0001 (นิยมใช้) ความเร็วในการประมวลผล ==>S (1), Millisecond (1/1000), Microsecond (1/1,000,000),Nanosecond (1/พันล้าน) , Picosecond (1/ล้านล้าน)
ขนาดความจุของหน่วยความจำและหน่วยสำรองข้อมูล B (ไบต์) KB MB GB TB ==> 1 ตัวอักษร ==> 1 พันตัวอักษร (1,024) ==> 1 ล้านตัวอักษร ==> 1 พันล้านตัวอักษร 1 ล้านล้านตัวอักษร ==>
หน่วยจัดเก็บ (Storage Unit) * หน่วยความจำหลัก (Primary storage) - หน่วยความจำบันทึก ข้อมูลระหว่างประมวลผลไว้ชั่วคราวจนกว่าการประมวลผล เสร็จสิ้น (RAM- Random Access Memory) และหน่วยความจำ ที่ผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ได้บรรจุคำสั่งต่าง ๆ ไว้ (ROM - Read Only Memory) ==> BIOS
วิวัฒนาการของเครื่องคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1: เทคโนโลยีหลอดสุญญากาศ คศ.1949-1956 ==> ใช้หลอดสุญญากาศ, เครื่องมีขนาดใหญ่มาก, ราคาแพง, ทำงานช้า, ใช้คำสั่งภาษาเครื่อง, ความเร็วในการคำนวณ หนึ่งหมื่นคำสั่งต่อวินาที, หน่วยความจำ 1 KB
ยุคที่สอง: เทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ คศ.1957-1963 ==> ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสุญญากาศ, มีขนาดเล็กลง, ราคาถูกลง, ทำงานเร็วขึ้น, ภาษาระดับต่ำ, 3แสนคำสั่งต่อ วินาที, 32 KB
ยุคที่สาม: การรวมแผงวงจร คศ.1964-1979 ==> ใช้วงจรอินทิเกรท (IC)ซึ่งเป็นการรวมวงจรทรานซิสเตอร์ เข้าด้วยกัน, เครื่องมีขนาดเล็กลง, ใช้ภาษาระดับสูง, สามารถทำงานได้มากกว่า 1 โปรแกรมในเวลาเดียวกัน (Multiprogramming), 5 ล้านคำสั่งต่อวินาที, 2 MB
ยุคที่สี่: การรวมแผงวงจรขนาดใหญ่ คศ.1980-ปัจจุบัน ==> มีการพัฒนาเครื่องลักษณะวงจรรวมความเร็วและความจุสูงมาก, เครื่องมีขนาดเล็กลง, 128 MB
ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) - ไมโครโปรเซสเซอร์ ชิป (Microprocessor chip) 8088, 80286, 80386, 80486 Pentium, Athlon - บริษัทผู้ผลิต ==> Intel, AMD - ความยาว (Word Length) 16 บิต ==> 64 บิต - ความกว้างทางเดินข้อมูล (Data bus length) ==> 128 - ความเร็วนาฬิกา (Clock speed) 8 MHz ==> 2 GHz
รูปแบบและขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง (Super computer) 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่(Mainframe computer) 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง (Mini computer) 4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) 5. เครื่องเวอร์กสเตชั่น (Workstation) 6. เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Personal Digital Assistance) (PDA)
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ * ประสิทธิภาพสูง (Super computer) * 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ * ขนาดใหญ่ (Mainframe computer) *
3. เครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดกลาง (Mini computer) 4. เครื่องไมโคร * คอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
5. เครื่องเวอร์กสเตชั่น (Workstation) 6. เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Personal Digital Assistance) (PDA) *
การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ 1. การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed processing) 2. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized processing) 3. การประมวลผลแบบลดขนาดการประมวลผลร่วม (Downsizing and cooperative processing) 4. การประมวลผลแบบขนาน (Parallel processing) *
* หน่วยความจำสำรอง (Secondary storage) - หน่วยบันทึก ข้อมูลที่บันทึกไว้อย่างถาวร เช่น แผ่นดิสเก็ตต์, ฮาร์ดดิสก์, แผ่นจานแสง(CD-ROM), แผ่นจานแสงบันทึกและอ่านข้อมูล เทปแม่เหล็ก, ตลับเทปแม่เหล็ก, Handy Drive
หน่วยนำเข้า (Input Unit) 1. แป้นพิมพ์ (Key board) 2. เมาส์ (Mouse) 3. การสัมผัสจอ (Touch screen) 4. การรู้จักอักขระด้วยแสง (Optical character recognition(OCR)) 5. การอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก (MICR) 6. ปากกาเขียน (Pen-based input) 7. ดิจิทัลแสกนเนอร์ (Digital scanner) 8. อุปกรณ์นำเข้าเสียง (Voice input device) 9. อุปกรณ์ตรวจรู้ (Sensor)
1. แป้นพิมพ์ (Key board)
2. เมาส์ (Mouse) 3. การสัมผัสจอ (Touch screen)
4. การรู้จักอักขระด้วยแสง (Optical character recognition(OCR)) เช่น OMR, Barcode 5. การอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก (MICR) เช่น เช็คของธนาคาร 6. ปากกาเขียน (Pen-based input) 7. ดิจิทัลแสกนเนอร์ (Digital scanner)
หน่วยแสดงผล(Output Device) 1. จอภาพ (Monitor) 2. พล็อตเตอร์ (Plotter) 3. เครื่องพิมพ์ (Printer) 3.1 เครื่องพิมพ์แบบจุด (Dot Matrix) 3.2 เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) 3.3 เครื่องพิมพ์ทีละบรรทัด (Line printer) 3.4 เครื่องพิมพ์แบบหมึกพ่น (Ink jet printer)
1. จอภาพ (Monitor) 2. พล็อตเตอร์
3. เครื่องพิมพ์ (Printer)
แนวโน้มเทคโนโลยีสารสนเทศของคอมพิวเตอร์ 1. Multimedia 2. Superchip 3. Parallel Computer 4. Nanotechnology 5. ต้นทุน / ประสิทธิภาพ ราคาถูกลง
Any Problem????