กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชาคมอาเซียน.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การคุ้มครองพยานในคดีอาญา ตาม พรบ.คุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
HUMAN RIGHTS GAME.
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ความเข้าใจเรื่องกลไกสิทธิมนุษยชน เรื่อง
การบูรณาการการจัดการปัญหาทางด้านสังคมของศูนย์พึ่งได้
กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน :
ความสำคัญและบทบาทหน้าที่ของสารวัตรเกษตรอาสา โดย กรมวิชาการเกษตร
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
สไลด์การอภิปรายทิศทางฯงานสิทธิฯของพม.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิทธิมนุษยชน.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
จังหวัดสมุทรปราการ.
หน่วยที่ 2 สิทธิมนุษยชน
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ จัดตั้งขึ้นภายใต้สังกัดกระทรวงยุติธรรมเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545

พันธกิจ มีหน้าที่ส่งเสริม คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย และหลักการสิทธิมนุษยชนโดยการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน เพื่อให้ประชาชนมีความสมานฉันท์ได้รับการคุ้มครอง และมีหลักประกันด้านสิทธิและเสรีภาพในระดับสากล วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรในการส่งเสริม คุ้มครอง และสร้างหลักประกันสิทธิ เสรีภาพและสิทธิมนุษยชนสู่ความเป็นสากล

ขอบเขตระบบงาน ประกอบด้วย 5 ระบบงาน ดังนี้ 1. ระบบงานส่งเสริมและป้องกัน สร้างการรับรู้เรื่องสิทธิและเสรีภาพแก่ประชาชนให้รู้จักสิทธิและหน้าที่ ของตัวเองและเคารพสิทธิผู้อื่น

ขอบเขตระบบงาน (ต่อ) 2. ระบบงานพิทักษ์สิทธิ ช่วยเหลือ พิทักษ์ และคุ้มครองประชาชนกลุ่มเสี่ยง ที่ถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพโดยไม่ให้ตกเป็นผู้เสียหาย หรือเหยื่ออาชญากรรม หรือผู้ที่ไม่ได้รับ ความเป็นธรรมจากการถูกละเมิดสิทธิตามหลักมนุษยชนอย่างเท่าเทียมด้วย การดําเนินการช่วยเหลือทางกฎหมายอย่างเป็นรูปธรรม

บริการสายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ โทร. 1111 กด 77 การดำเนินงานช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน บริการสายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ โทร. 1111 กด 77 ให้คําปรึกษาด้านกฎหมายรับเรื่องราวร้องทุกข์ และแนะนําสิทธิต่าง ๆ แก่ประชาชน ดําเนินการเชิงรุกเพื่อช่วยเหลือผู้เสียหายและจําเลยในคดีอาญา และประสานความช่วยเหลือไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รณรงค์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพทาง กฎหมาย และช่องทางการติดต่อขอรับบริการ ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เช่น การจัดหาล่ามภาษามือ และภาษาต่างประเทศ และการจัดหาทนายความ

3. ระบบงานช่วยเหลือและเยียวยา ขอบเขตระบบงาน (ต่อ) 3. ระบบงานช่วยเหลือและเยียวยา 3.1 การช่วยเหลือเยียวยาทางการเงินแก่ผู้เสียหายที่ได้รับบาดเจ็บหรือ เสียชีวิต เนื่องจากการกระทําความผิดทางอาญาของผู้อื่นโดยตนไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทําความผิด นั้น และเยียวยาจําเลยในคดีอาญาที่ตก เป็นแพะกรณีถูกคุมขังในระหว่างการพิจารณาคดีและมีคําพิพากษาถึงที่สุด ว่าไม่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ. ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและ ค่าใช้จ่ายแก่จําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544(และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559)

ขอบเขตระบบงาน (ต่อ) 3. ระบบงานช่วยเหลือและเยียวยา (ต่อ) 3.2 การขอคุ้มครองพยานในคดีอาญาที่ถูกข่มขู่คุกคามให้เกิดความเชื่อมั่นในความปลอดภัยด้วยการปฏิบัติที่เหมาะสม และได้รับค่าตอบแทนที่สมควรจากรัฐตาม พ.ร.บ. คุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546

4. ระบบงานระงับข้อพิพาททางเลือก ขอบเขตระบบงาน (ต่อ) 4. ระบบงานระงับข้อพิพาททางเลือก ส่งเสริมมาตรการ กลไกจากรัฐ และการสร้างกติกาชุมชนด้วยการมี ส่วนร่วมของภาคประชาชนที่มีข้อพิพาทต่อกันให้มีทางเลือกที่สามารถ ไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาทกันเองโดยไม่จําเป็นต้องนําคดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมด้วยการจัดตั้ง “ศูนย์ไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาท” ตามชุมชน ต่าง ๆ ให้มีมาตรฐานสากล

5. ระบบงานหลักประกันสิทธิ ขอบเขตระบบงาน (ต่อ) 5. ระบบงานหลักประกันสิทธิ สร้างหลักประกันสิทธิและเสรีภาพตามกฎหมายและตามหลักสิทธิ มนุษยชนในระดับสากล โดยการสร้างมาตรฐานการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ผลักดันและพัฒนากฎหมายให้ทันสมัย เพื่อนําไปสู่การปฏิบัติ และสร้างกลไกการบังคับใช้กฎหมายกับผู้ถูกละเมิดสิทธิโดยมีภารกิจ ดังนี้

ระบบงานการดําเนินงาน (ต่อ) 5.1 จัดทําแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติขึ้น เพื่อเป็นแนวทางให้ทุก หน่วยงานส่งเสริมและปกป้องสิทธิมนุษยชนแก่ประชาชนในชาติและ เพิ่มความเข้มแข็งของหลักนิติรัฐ

ขอบเขตระบบงาน (ต่อ) 5.2 ประเทศไทยเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติและเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีข้อผูกพันที่จะต้อง ดําเนินการตาม “สนธิสัญญา 4 ประการ” คือ ประกันให้เกิดสิทธิ ปฎิบัติให้เกิดสิทธิ เผยแพร่หลักการของสิทธิ รายงานความก้าวหน้า

1. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพรับผิดชอบสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน 5 ฉบับ ดังนี้ 1. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civiland Political Rights – ICCPR)

2. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน (ต่อ) 2. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights – ICESCR)

สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน (ต่อ) 3. อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination – CERD)

สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน (ต่อ) 4. อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือ การลงโทษอื่นที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรมหรือย่ำยีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment – CAT)

สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน (ต่อ) 5. อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการบังคับ ให้หายสาบสูญ (International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance – ICPPED)

การจัดทํารายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน จัดทํารายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยภายใต้ กระบวนการ Universal Periodic Review (UPR) ซึ่งเป็นกระบวนการของรัฐ ที่จะประเมินทบทวนโดยรัฐกันเองผ่านการหารือกับภาคประชาสังคมและ ภาคประชาชนเพื่อนําไปสู่การปรับปรุงสิทธิมนุษยชนในประเทศให้ดีขึ้น

สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม สำนักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ พื้นที่ 1- 4 คลินิกยุติธรรมในสำนักงานยุติธรรมจังหวัดและสาขาทั่วประเทศ สายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ โทร. 1111 กด 77 Line ID : rlpdconsultation ข้อมูลเพิ่มเติม www.rlpd.go.th www.facebook.com/RLPD.PR www.facebook.com/RLPD.PR.FANPAGE แอปพลิเคชั่น RLPD Service ชมภาพยนตร์แอนิเมชั่น