งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
งาน Palliative care.
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การติดตาม (Monitoring)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
การลงข้อมูล LTC ปี ลงข้อมูลผ่านเวปไซด์ : bit.ly\cmpho_ltc/2560
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
งานกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ปี 2562
การดูแลผู้สูงอายุเครือข่ายพนมสารคาม
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานสถานการณ์E-claim
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
ประชุมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 16 กรกฎาคม 2561 เวลา น. ณ ห้องประชุมอินทนนท์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 ของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์

องค์ประกอบ 7 ข้อ 1. มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพและมีข้อมูลผู้สูงอายุ ที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว 2. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3. มีผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ(Care mamager)ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) 4. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ(Home Health Care) จากสถานบริการสู่ชุมชน โดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ 5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพระดับตำบล 6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ ติดบ้านติดเตียงโดยท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วม และมีแผนการดูแลรายบุคคล(Care plan) 7. มีคณะกรรมการบริหารจัดการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน หรือคณะกรรมการกองทุนตำบล

เป้าหมาย 1. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสุขภาพ ADL/Geriatric Syndrome: เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจหลอดเลือด สุขภาพช่องปาก สมองเสื่อม เข่าเสื่อม ภาวะหกล้ม ซึมเศร้า ) ร้อยละ 80 และข้อมูลผู้สูงอายุได้บันทึกในระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ร้อยละ 80 2. พัฒนาสังคมผู้สูงอายุ (ชมรม/โรงเรียน) ให้ครบทุกตำบล/หมู่บ้าน และให้ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุ คุณภาพ ร้อยละ 80 3. พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (โดยเฉพาะตำบลที่เข้าร่วม โครงการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว ปี 2559- 2560 ) 4. ผู้สูงอายุที่ดูแลต่อเนื่องที่บ้านCOC ได้รับการดูแลโดยใช้ แฟ้มผู้ป่วย Chart Home Ward ร้อยละ 100 5. บูรณาการดำเนินงานระหว่างตำบลจัดการสุขภาพและตำบล LTC ผู้สูงอายุระยะยาว 6. พัฒนาบริการส่งเสริม/ป้องกันทันตสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุ/ชุมชนระดับตำบล ร้อยละ 80 7. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ DHS/PCC/FCT/ท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม ร้อยละ 100

สถานการณ์ประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 20 ข้อมูลจาก HTC วันที่ประมวลผล :: 17 พฤษภาคม 2560

ข้อมูลจาก HTC วันที่ประมวลผล :: 17 พฤษภาคม 2560 ผลงาน 6 เดือน การคัดกรอง ADL ร้อยละ 66.38 ข้อมูลจาก HTC วันที่ประมวลผล :: 17 พฤษภาคม 2560

เกณฑ์ประเมินทันตสาธารณสุขในชุมชน

แบบประเมินชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ เต็ม 100 คะแนน แบบประเมินชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ เต็ม 100 คะแนน ข้อมูลทั่วไป 15 คะแนน กรรมการ 10 คะแนน กฎ กติกา 10 คะแนน ระดมทุน(ยกเว้น ฌกส.) 20 คะแนน กิจกรรม 45 คะแนน

เกณฑ์ประเมินชมรมผู้สูงอายุ

สมาชิกไม่ครบตามเกณฑ์ สภาพปัญหาที่ลงพื้นที่ (ที่ตกเกณฑ์) สาเหตุของปัญหา (ข้อที่ไม่ผ่าน) แนวทางการแก้ไขปัญหา(กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ สมาชิกไม่ครบตามเกณฑ์ ข้อ 1.2 จำนวนสมาชิกอายุต่ำกว่า 50 และ50-59 ปี มีน้อย ชักจูงภาคี แนวร่วมใหม่ๆมาเป็นสมาชิกชมรมฯ เช่น นักเรียน แม่บ้าน ใน ชุมชน พระฯลฯ ปี 61 ชมรม/รพ.สต(กระตุ้น) การช่วยเพื่อนสมาชิก การรวมตัวกันของสมาชิก ส่วนมากมีแต่ คนสูงอายุ ติดสังคม อธิบายเรื่องสมาชิก ในชมรมฯ มีใครได้บ้าง/ไม่มีข้อจำกัดเรื่อง อายุ และการเจ็บป่วย มี ติดบ้าน ติดเตียงเป็นสมาชิก

ข้อ 4 ไม่มีงบสนับสนุนจากแหล่งทุน สภาพปัญหา (ที่ตกเกณฑ์) สาเหตุของปัญหา (ข้อที่ไม่ผ่าน) แนวทางการแก้ไขปัญหา(กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ การระดมทุน ข้อ 4 ไม่มีงบสนับสนุนจากแหล่งทุน ต้องมีข้อมูลสมาชิกเป็นรายลักษณ์อักษร เพื่อขอทุนจากภาคส่วน ปี 61 ชมรม/รพ.สต(กระตุ้น) กิจกรรม ข้อ5 การออกกำลังกาย /การตรวจสุขภาพ ไม่มีข้อมูลกิจกรรมในชมรมฯอย่างชัดเจน จนท. สธ ในรพ.สต

แนวทางพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ (ต่อ) ปัญหา 1. การรวมตัวกันของสมาชิก ส่วนมากมีแต่ คนสูงอายุ 2. ผู้สูงอายุในพื้นที่ยังไม่ตระหนัก เรื่อง การดูแลสุภาพของตนเอง 3. ขาดแกนนำส่งเสริมสุขภาพด้านกาย ใจ เนื่องจาก แกนนำคนเดิม มีอายุที่มากแล้ว ติดตามพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ ตามประเด็นที่เป็นส่วนขาด 1.ชักจูงภาคี แนวร่วมใหม่ๆมาเป็นสมาชิกชมรมฯ เช่น นักเรียน แม่บ้าน ใน ชุมชน พระฯลฯ ในการสร้างสุขภาพ ทั้งกาย ใจ 2. สร้างแรงจูงใจ ให้กับสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ดูสุขภาพตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน(Empowerment) 3. จัดให้มีแกนนำส่งเสริมสุขภาพ ด้านการออกกำลังกาย รายใหม่ๆ ในชมรม ผู้สูงอายุ เพื่อให้กิจกรรมดำเนินต่อเนื่อง เช่น ตำบลทุ่งปี๊ มีกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพ การแช่มือ แช่เท้าผู้สูงอายุ 4. ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพจิตในชมรม โดยใช้เครื่องมือ สุข 5 มิติ เป็นต้น

แบบฟอร์มรายงานข้อมูลโครงการ LTC ปี 2560 ผลการดำเนินงาน LTC ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 ถึง เดือน…………… 2560 (ข้อมูลสะสม) สสอ./รพ.…………….… จังหวัดเชียงใหม่   อปท. 1.จำนวนผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย LTC 2.จำนวน Care manager ที่ผ่านการอบรม 3.จำนวน Care giver ที่ผ่านการอบรม 4..การจัดทำ Care Plan 5.กลุ่มผู้สูงอายุที่เปลี่ยนแปลง 6.ตำบลที่เข้าร่วมโครงการLTC ปี 2559 - 2560 ปี 2559 ปี 2560 ปี 59 60 รวม จำนวน CG ที่ได้ปฏิบัติตาม Care plan (เฉพาะในตำบลLTC) จำนวน CG ที่ได้รับค่าเหมาจ่ายรายเดือน(เฉพาะในตำบลLTC) กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง กลุ่ม1 กลุ่ม2 กลุ่ม3 กลุ่ม4 กลุ่ม 3 4 จัดทำแล้ว(ฉบับ) โอนเงินเพื่อซื้อบริการ(ฉบับ) กลุ่มติดบ้านทั้ง หมด เปลี่ยน เป็นติดสังคม เสียชีวิต กลุ่มติดเตียงทั้ง เป็นติดบ้าน/ติดสังคม จำนวนทั้งหมด(ตำบล) จำนวนตำบลที่ผ่านเกณฑ์LTC คุณภาพ

การติดตามงานข้อมูล LTC 1. ลงข้อมูลลงในแบบฟอร์มตารางที่ได้ส่งหนังสือแจ้งพื้นที่ไปเมื่อ 6 ม.ค.60 2. ตัดยอดทุกวันที่ 15 และส่งรายงานทุกวันที่ 18 ของเดือน 3. อปท. ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาล ให้โรงพยาบาลเป็น ผู้รายงาน 4. อปท. ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ให้ ผู้รับผิดชอบงาน LTC ของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเป็นผู้รายงาน

การดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิงฯ ปี 2560 การดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิงฯ ปี 2560 กิจกรรม เป้าหมาย ผลงาน ระยะเวลาดำเนินการ 1. อบรม Care Manager 68 คน 66 คน 2. อบรม Care Giver 190 คน (1:10) 296 คน (5 อำเภอ ) ภายใน 15 ก.ค (หางดง) (แม่วาง) มิ.ย 3. จัดทำ Care Plan มี.ค.-มิ.ย. 2560 173 คน ( อปท 3 แห่ง) ภายใน มิ.ย 60 4. เสนอ Care Plan แก่คณะอนุกรรมการ มิ.ย. 2560 - ภายใน 15 ก.ค 60 5. เยี่ยมผู้ป่วยตาม Care Plan ภายใน ก.ค.60 จัดตั้งศูนย์ ภายใน มิ.ย 6. เบิก-จ่ายงบประมาณ มิ.ย. 2560 เป็นต้นไป เดือนแรก ก.ค -ส.ค.60