สถานการณ์โลก การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์ - มาตราฐานข้าว การตลาด - ความต้องการผู้บริโภคได้แก่ ชนิดข้าว คุณภาพ - ส่วนแบ่งตลาด
สถานการณ์ข้าวในอาเซียน การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์ - มาตราฐานข้าว การตลาด - ความต้องการผู้บริโภคได้แก่ ชนิดข้าว คุณภาพ ส่วนแบ่งตลาด ข้อได้เปรียบเสียเปรียบและศักยภาพ
ตารางแสดงจุดออ่น-จุดแข็งของไทย จุดอ่อน โครงสร้างพื้นฐาน ชลประทาน พื้นที่ปลูก แรงงาน เทคโนโลยี ราคาปัจจัยการผลิต การเข้าถึงแหล่งเงินทุน ยุทธศาสตร์ด้านราคา คุณภาพข้าว การรักษาส่วนแบ่งการตลาด Logistic ราคาข้าวในตลาดโลก มาตราการสุขอนามัย นโยบายด้านการส่งออก แบรน์สินค้า วิถีการตลาด มาตราฐานความปลอดภัยการผลิตและผลผลิต ผลผลิตต่ำ
อุปสรรคที่เกิดขึ้นในประเทศไทย 1. แรงงาน - แรงงานจ้าง และขาดแคลน - จ้างทำ - สูงอายุ - ค่าจ้างสูง 2. ปัจจัยการผลิต - ราคาสูง - ใช้ปัจจัยภายนอก - ไม่มีคุณภาพ - ใช้ปริมาณสูงเกินความจำเป็น 3. ต้นทุนการผลิต 4. ความปลอดภัย - ใช้สารเคมีหรือวัตถุอันตราย - ไม่มีมาตรการควบคุมในการใช้สารเคมี 5. มาตรฐานผลผลิต/การผลิต - ตลาด GAP/Q มีน้อย - ไม่มีการแยกซื้อ-ขาย - ราคาไม่จูงใจ
อุปสรรคที่เกิดขึ้นในประเทศไทย(ต่อ) 6. ผลผลิตต่ำ - พื้นที่ไม่เหมาะสม - เทคโนโลยีการผลิต - โรคแมลงระบาด ภัยธรรมชาติ 7. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร - สูงอายุ/รุ่นเก่าใส่ใจน้อย - เด็กรุ่นใหม่ไม่เข้าใจบทบาทนักส่งเสริม 8. ตัวเกษตรกรผู้ผลิต - ไม่ยอมรับการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิต
แนวทางการส่งเสริมการผลิตข้าวไทย 1. บริหารจัดการต้นทุนการผลิต - การลดต้นทุนการผลิต - การจัดการแรงงานการผลิต - การจัดการปัจจัยการผลิต 2. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต Zoning (ปลูกตามความเหมาะสม,ปลูกตามความต้องการบริโภคหรือส่งออกในพื้นที่) - พัฒนาเจ้าหน้าที่ และเกษตรกร - ผลิตเพื่อการบริโภคในพื้นที่ 3. มาตรฐาน - Codex - GAP 4. ตลาด - ตลาดท้องถิ่น - ตามคุณภาพข้าว (ชนิดข้าวนึ่ง,ข้าวหอม)