สำนักงาน ก.ค.ศ. การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) นายสุธี วัฒนวันยู ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาระบบบริหารงานบุคคล
การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2)
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.5/ว 1 ลงวันที่ 23 มกราคม 2552
ว1 ปี 52 เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการย้าย บุคลากรทางการศึกษาอื่นตาม มาตรา 38 ค. (2) ไปแต่งตั้งให้ ดำรงตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้น จากระดับ 3
สาระสำคัญ ให้ส่วนราชการดำเนินการคัดเลือกบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค.(2) ผู้ดำรงตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 ที่มีวุฒิเพิ่มขึ้นเพื่อย้ายไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3
วิธีการคัดเลือก ทดสอบ ขึ้นบัญชี 2 ปี บรรจุตามลำดับที่
เนื่องจาก ว 1 ปี 52 มีผลตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม 2552 แต่มีการปรับระบบตำแหน่งเมื่อ 15 มีนาคม 2552 และ สพฐ. ประกาศผลการคัดเลือกขึ้นบัญชีในเดือนเมษายน 2552 ทำให้ไม่สามารถใช้บัญชีในการบรรจุ ก.ค.ศ. จึงได้ออกหนังสือเวียน ว 12 ปี 52
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.5 /ว 2 ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2552
ว 2 ปี 52 เรื่อง การปรับระบบตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค.(2) จากระบบเดิมสู่ระบบใหม่ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
สาระสำคัญ ให้คงกรอบ เร่งรัดออกคำสั่งการดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล ให้เสร็จภายใน 14 ก.พ.52 ชะลอการดำเนินการชั่วคราว ตั้งแต่ 15 ก.พ. 52 จนกว่าจะจัดคนเข้าตามระบบตำแหน่งใหม่แล้วเสร็จ ยกเว้นสำหรับการประเมินบุคคลเพื่อดำรงตำแหน่ง ว กรณีที่ส่งผลงานไว้สมบูรณ์ ก่อน 15 ก.พ. 52 หากดำเนินการยังไม่แล้วก็ให้ดำเนินการต่อได้
หนังสือสำนักงาน ก. ค. ศ. ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0206 หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0206.5 / ว 3 ลงวันที่ 25 มีนาคม 2552
ว 3 ปี 52 เรื่อง การปรับระบบตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค.(2) จากระบบเดิมสู่ระบบใหม่ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
สาระสำคัญ กำหนดตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค.(2) เป็น 2 ประเภท คือ ตำแหน่งประเภทวิชาการ ตำแหน่งประเภท ทั่วไป
ปรับตำแหน่งจากระบบเดิมสู่ระบบตำแหน่งใหม่ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป บุคลากร นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าพนักงานธุรการ นักจัดการงานทั่วไป นักทรัพยากรบุคคล เจ้าพนักงานธุรการ
ระดับตำแหน่ง ประเภทวิชาการ 6-7 ชำนาญการ 8 ชำนาญการพิเศษ 9 เชี่ยวชาญ ระดับตำแหน่งเดิม ระดับตำแหน่งใหม่ 3-5 ปฏิบัติการ 6-7 ชำนาญการ 8 ชำนาญการพิเศษ 9 เชี่ยวชาญ
ระดับตำแหน่ง ประเภททั่วไป 5-6 ชำนาญงาน 7-8 อาวุโส ระดับตำแหน่งเดิม ระดับตำแหน่งใหม่ 1-4 ปฏิบัติงาน 5-6 ชำนาญงาน 7-8 อาวุโส
การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ให้มีผลตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2552
หนังสือสำนักงาน ก. ค. ศ. ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0206 หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0206.5 / ว 4 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2552
ว 4 ปี 52 เรื่อง การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค.(2) ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง
สาระสำคัญ ให้นำกฎ ก.พ. หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งมาใช้กับบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค.(2) โดยอนุโลม ตั้งแต่ 15 มี.ค. 52
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินเดือน พ.ศ. 2551 สาระสำคัญ ผู้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโสให้ได้รับเงินเดือนไม่เกิน 36,020 บาท เว้นแต่ผู้ได้รับเงินเดือนสูงกว่า 36,020 บาท อยู่แล้วให้ได้รับเงินเดือนตามที่รับอยู่เดิม
ผู้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส ที่ได้รับเงินเดือน เกิน ขั้นสูงของระดับอาวุโส คือเกิน 36,020บาท ให้ได้รับเงินเดือนเท่าเดิม
กฎ ก. พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินประจำตำแหน่ง พ. ศ กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2551 สาระสำคัญ กำหนดอัตราเงินประจำตำแหน่ง ประเภทวิชาการ อัตราเงินประจำตำแหน่ง ชำนาญการพิเศษ 5,600 เชี่ยวชาญ 9,900
ว 6 ปี 52 เรื่อง การบริหารงานบุคคลในจังหวัด ชายแดนภาคใต้
สาระสำคัญ 1. ให้นับระยะเวลาปฏิบัติงานในหน้าที่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นทวีคูณ เพื่อประโยชน์ในการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น
สาระสำคัญ (ต่อ) 2. ไม่จำเป็นต้องมีระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง(ต้นทุน) ที่กำหนด เช่น 1 ปี 3. เมื่อได้รับการแต่งตั้งแล้ว ควรให้ปฏิบัติงานในพื้นที่ไม่น้อยกว่า 2 ปี เว้นแต่มีเหตุผลความจำเป็นเป็นพิเศษ
3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา (นาทวี จะนะ เทพา สะบ้าย้อย)
ว 7 ปี 52 เรื่อง การย้ายและการเลื่อนระดับตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2)
การเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006/ว34 ลว 29 ต.ค. 47 ระดับอาวุโส ที่ นร 0708.1/ว22 ลว 30ก.ย. 40
การเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ, ชำนาญการพิเศษ หนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่ นร 1006/ว10 ลว 15 ก.ย. 48
การย้ายตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน หนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่นร 0708/ว9 ลว 12 พ.ย. 35 ระดับชำนาญงาน หนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่ นร 1006/ว34 ลว 29 ต.ค. 47หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006/ว17 ลว 26 ธ.ค. 49 ระดับอาวุโส หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 0708/ว9 ลว 12 พ.ย. 35
การย้ายตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่ นร 0708/ว9 ลว 12 พ.ย. 35 ระดับชำนาญการ, ชำนาญการพิเศษ หนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่ นร 1006/ว10 ลว 15 ก.ย. 48
ว 8 ปี 52 เรื่อง มาตรฐานตำแหน่ง
สาระสำคัญ ให้นำมาตรฐานตำแหน่งตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว18 ลว 28 ตุลาคม 2548 มาใช้เป็นมาตรฐานตำแหน่งสำหรับตำแหน่ง และระดับตำแหน่งที่กำหนดใหม่โดยอนุโลมเป็นการเฉพาะคราว
ว 9 ปี 52 เรื่อง การเลื่อนระดับตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค.(2)
สาระสำคัญ กำหนดคุณสมบัติเรื่องระยะเวลาการดำรงตำแหน่งสำหรับการเลื่อนระดับครั้งแรกที่ได้ปรับเข้าสู่ระบบตำแหน่งใหม่ในตำแหน่งประเภทวิชาการและประเภททั่วไป
ตำแหน่งประเภทวิชาการ คุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งปฏิบัติการที่จะได้รับแต่งตั้งระดับชำนาญการ ก. ดำรงตำแหน่งระดับ 5 หรือเทียบเท่าไม่น้อยกว่า 2 ปี ข. ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 4 เทียบเท่าไม่น้อยกว่า 4 ปี
ตำแหน่งประเภทวิชาการ คุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งชำนาญการที่จะได้รับแต่งตั้งระดับชำนาญการพิเศษ ก. ดำรงตำแหน่งระดับ 7 หรือเทียบเท่าไม่น้อยกว่า 1 ปี ข. ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 6 เทียบเท่าไม่น้อยกว่า 3 ปี
ตำแหน่งประเภททั่วไป คุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งปฏิบัติงานที่จะได้รับแต่งตั้งระดับชำนาญงาน ก. ดำรงตำแหน่งระดับ 4 หรือเทียบเท่าไม่น้อยกว่า 2 ปี ข. ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 3 เทียบเท่าไม่น้อยกว่า 4 ปี
ตำแหน่งประเภททั่วไป คุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งชำนาญงานที่จะได้รับแต่งตั้งระดับอาวุโส ก. ดำรงตำแหน่งระดับ 6 หรือเทียบเท่าไม่น้อยกว่า 2 ปี ข. ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 5 เทียบเท่าไม่น้อยกว่า 4 ปี
ว 10 ปี 48 เรื่อง การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป) และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ ตำแหน่งระดับ 8 ลงมา
สาระสำคัญ 1. ให้มีการพิจารณาคัดเลือกบุคคลก่อนส่งผลงาน ให้มีการประกาศผลอย่างเปิดเผยและโปร่งใส เปิดโอกาสให้ทักท้วงได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันประกาศผล
สาระสำคัญ (ต่อ) 2. ผลงานประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 2.1 ผลงานที่เกิดจากงานในหน้าที่รับผิดชอบ 2.2 ข้อเสนอแนวคิดเพื่อพัฒนางาน
สาระสำคัญ (ต่อ) 3. คุณสมบัติของผู้จะได้รับแต่งตั้ง 3.1 เป็นผู้ผ่านการประเมินบุคคล 3.2 มีคุณสมบัติตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 3.3 มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิ
สาระสำคัญ (ต่อ) ระดับ คุณวุฒิ 6 7 8 ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 6 ปี 7 ปี 8 ปี ปริญญาโทหรือเทียบเท่า 4 ปี 5 ปี ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า 2 ปี 3 ปี
สาระสำคัญ (ต่อ) 3.4 ได้ดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติงานในสายงานที่จะแต่งตั้งมาไม่น้อยกว่า 1 ปี
สาระสำคัญ (ต่อ) 3.5 การนับประสบการณ์เกื้อกูล - นับได้ตั้งแต่มีคุณวุฒิตรงตามมาตรฐาน - กรณีการนำประสบการณ์ในตำแหน่งในสายงานที่เริ่มจากระดับ 1 หรือ 2 นับได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาปฏิบัติงาน ที่นำมานับ
ว 22 ปี 40 เรื่อง การคัดเลือกเพื่อเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งระดับ 8 ลงมา และระดับ 9 ระดับ 10 ระดับ 11
สาระสำคัญ 1. ให้ส่วนราชการดำเนินการเลือกสรรกลั่นกรอง เพื่อเลื่อนข้าราชการให้ดำรงตำแหน่งระดับ 8 ลงมา
สาระสำคัญ (ต่อ) 2. ให้ส่วนราชการเตรียมเอกสารประกอบการพิจารณา 2.1 รายละเอียดหน้าที่ความรับผิดชอบ และความต้องการของตำแหน่ง 2.2 ข้อมูลบุคคล 2.3 ให้กรรมการกำหนดองค์ประกอบ เกณฑ์ วิธีประเมิน ตามความเหมาะสม
ว 34 ปี 47 เรื่อง การคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดำรงตำแหน่งซึ่งมีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติโดยอาศัยความรู้ ความชำนาญและประสบการณ์เฉพาะตัว สำหรับสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และระดับ 2
สาระสำคัญ 1. การเลื่อน 1.1 การคัดเลือกใช้วิธีการ -สอบ -ประเมินผลงาน 1.1 การคัดเลือกใช้วิธีการ -สอบ -ประเมินผลงาน -ทดลองปฏิบัติงาน อย่างน้อย 1 วิธี 1.2 การเลื่อนและแต่งตั้งสูงกว่าตำแหน่งที่ดำรงอยู่ไม่เกิน 1 ระดับ
สาระสำคัญ (ต่อ) 2. การย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ในระดับไม่สูงกว่าเดิม (ระดับ 1 หรือ2) -ย้ายไปแต่งตั้งระดับ กลุ่มเดียวกัน ประสบการณ์ในระดับเดียวกันให้ส่วนราชการพิจาณาแต่งตั้งได้โดยไม่ต้องคัดเลือก -กรณีต่างตำแหน่ง ต่างกลุ่มให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณาคัดเลือก
สาระสำคัญ (ต่อ) 3. การแต่งตั้ง 3.1 มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 3.2 มีระยะเวลาขั้นต่ำตามที่กำหนด 3.3 ผ่านการคัดเลือกโดยวิธีการที่กำหนด 3.4 ตั้งได้ไม่ก่อนวันที่มีคุณสมบัติครบถ้วนและเป็นไปตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร. 0203/ว255 ลงวันที่ 27 พ.ย. 2524
ระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง คุณวุฒิ 4 5 6 ม. 3/ มศ. 3/ ม. 6 หรือเทียบไม่ต่ำกว่านี้ 9 ปี 11 ปี 13 ปี ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิชาอาชีพที่ 1) หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ 8 ปี 10 ปี 12 ปี ปวช. หรือประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิชาอาชีพที่ 2) หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ 6 ปี ปวท. หรืออนุปริญญา 2 ปี หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ - 7 ปี ปวส. หรืออนุปริญญา 3 ปี หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้
การบรรจุและแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้ การบรรจุและแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้ หมายถึง การรับบุคคล ที่ไม่ได้เป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งเป็น ผู้สอบแข่งขันได้ เข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (มาตรา 45, 47, 53)
หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 0708.4/ว 15 ลงวันที่ 9 กันยายน 2535 เรื่อง หลักสูตร วิธีการสอบแข่งขันและวิธีดำเนินการสอบแข่งขันฯ
ลงวันที่ 11 ธันวาคม 2551 เรื่อง หลักเกณฑ์ หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1004.1/ว 15 ลงวันที่ 11 ธันวาคม 2551 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสอบแข่งขัน เพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ
ข. ภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะ หลักเกณฑ์ มีการสอบ 3 ภาค ก. ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ข. ภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะ ตำแหน่ง ค. ภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง
ก. ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (200 คะแนน) ทดสอบโดยการสอบข้อเขียน 1. วิชาความสามารถทั่วไป (100 คะแนน) ทดสอบความสามารถด้านการคิดคำนวณ และด้านเหตุผล 2. วิชาภาษาไทย (100 คะแนน) ทดสอบความเข้าใจภาษาและการใช้ภาษา ก. ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (200 คะแนน)
ข. ภาคความรู้ความสามารถ ที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (200 คะแนน) ข. ภาคความรู้ความสามารถ ที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (200 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถที่ใช้ใน การปฏิบัติงาน สอบข้อเขียน หรือปฏิบัติ หรือวิธีการอื่น
ค. ภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง (100 คะแนน) ค. ภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง (100 คะแนน) ประเมินบุคคลจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรม และการสัมภาษณ์
เกณฑ์การตัดสิน ต้องสอบได้แต่ละภาค ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 60
เรียงตามลำดับคะแนนสูงสุด ลงมา การขึ้นบัญชี เรียงตามลำดับคะแนนสูงสุด ลงมา ขึ้นบัญชีไว้ไม่เกิน 2 ปี
การบรรจุและแต่งตั้งผู้ได้รับคัดเลือก หมายถึงการบรรจุบุคคลที่ไม่ได้เป็นข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ซึ่งเป็นผู้ได้รับการคัดเลือก เข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (มาตรา 50, 53)
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล เพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการ เป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วย กรณีที่มีความจำเป็น หรือมีเหตุพิเศษ (มาตรา 50)
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6 / ว 3 ลงวันที่ 27 เมษายน 2553
ใช้หลักเกณฑ์ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2553 ยกเลิกหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.2/ว 14 ลงวันที่ 29 กันยายน 2548
1. มีมติคณะรัฐมนตรีหรือทางราชการ มีเงื่อนไขให้รับโอนโรงเรียนเอกชน หลักเกณฑ์ 1. มีมติคณะรัฐมนตรีหรือทางราชการ มีเงื่อนไขให้รับโอนโรงเรียนเอกชน หรือโรงเรียนอื่นใด มาเป็นโรงเรียนรัฐบาล หรือเงื่อนไขผูกพันอื่นเป็นการเฉพาะ ให้บรรจุและแต่งตั้ง
2. มีสัญญาผูกพันตามโครงการพิเศษ หรือโครงการนักเรียนทุนรัฐบาล 3. ประกาศสอบแข่งขันไม่น้อยกว่า สองครั้งแล้วไม่มีผู้สมัคร
4. สอบแข่งขันไม่น้อยกว่าสองครั้งแล้ว ได้คนไม่พอกับตำแหน่งว่าง
5. ตำแหน่งอยู่ในพื้นที่ที่เป็นเกาะ / ภูเขาสูง ไม่สามารถเดินทางด้วย พาหนะใดๆ ได้สะดวกตลอดปี พื้นที่เสี่ยงต่อความมั่นคง (คลัง / มหาดไทย) พื้นที่พิเศษ (คลัง)
6. การบรรจุและแต่งตั้งครูอัตราจ้าง หรือลูกจ้างชั่วคราวจากเงินงบประมาณ พนักงานราชการ ครูสอนศาสนาอิสลาม ซึ่งปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี
7. มีความจำเป็น / เหตุพิเศษอื่น ตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา กำหนดโดยอนุมัติ ก.ค.ศ.
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน ผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ นายสุธี วัฒนวันยู ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาระบบบริหารงานบุคคล
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน ผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1012/ว 20 ลงวันที่ 3 กันยายน 2552
ประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีละ 2 รอบ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีละ 2 รอบ รอบที่ 1 1 ตุลาคม – 31 มีนาคม รอบที่ 2 1 เมษายน – 30 กันยายน
ประเมินไม่น้อยกว่า 2 องค์ประกอบ ผลสัมฤทธิ์ของงาน (ไม่น้อยกว่า 70 %) พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะ
ผลสัมฤทธิ์ของงาน ปริมาณผลงาน คุณภาพผลงาน ความรวดเร็ว ความประหยัด
พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ สมรรถนะหลัก สมรรถนะที่เกี่ยวข้อง
การสั่งสมความเชี่ยวชาญ สมรรถนะหลัก การมุ่งผลสัมฤทธิ์ บริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญ ในงานอาชีพ
การยึดมั่นในความถูกต้อง สมรรถนะหลัก (ต่อ) การยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรม และจริยธรรม การทำงานเป็นทีม
ระดับคะแนนผลการประเมิน ดีเด่น ดีมาก ดี พอใช้ (ช่วงคะแนนต่ำสุดไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60) ต้องปรับปรุง
วิธีการประเมิน ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน ก่อนเริ่มรอบการประเมิน ผู้ประเมิน ผู้รับการประเมิน กำหนด ข้อตกลงรวมกัน ผู้ประเมินให้คำปรึกษาแนะนำผู้รับการประเมิน
วิธีการประเมิน (ต่อ) แจ้งผลการประเมินเป็นรายบุคคล ประกาศรายชื่อผู้มีผลการประเมิน ระดับดีเด่น ดีมาก ให้มีคณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมิน
หนังสือสำนักงาน ก.พ. ด่วนที่สุด ที่ นร 1008/ว 28 ลงวันที่ 22 ตุลาคม 2552 เรื่อง การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการครู ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
ใช้ฐานในการคำนวณเพื่อเลื่อนเงินเดือน ตามที่ ก.พ. กำหนด การเลื่อนเงินเดือนตั้งแต่ครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้ใช้ กฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 ใช้ฐานในการคำนวณเพื่อเลื่อนเงินเดือน ตามที่ ก.พ. กำหนด
ประเภทตำแหน่ง ระดับ ช่วงเงินเดือน ฐานในการคำนวณ อัตรา วิชาการ ชำนาญการพิเศษ 35,830 – 50,550 บน 43,190 18,910 – 35,820 ล่าง 31,220 ชำนาญการ 25,190 – 36,020 30,600 12,530 – 25,180 20,350 ปฏิบัติการ 17,680 – 22,220 19,950 6,800 – 17,670 15,390 ทั่วไป อาวุโส 28,280 – 36,020 บน 1 30,870 15,410 – 28,270 ล่าง 1 28,270 ชำนาญงาน 21,880 – 33,540 27,710 10,190 – 21,870 16,030 ปฏิบัติงาน 13,270 – 18,190 15,730 4,630 – 13,260 10,790
เลื่อนเงินเดือนภายในวงเงินร้อยละ 3 ของเงินเดือนข้าราชการ ณ วันที่ 1 มีนาคม และ 1 กันยายน
ผู้รับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้ถึงเงินเดือนสูงสุด ให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าตอบแทนพิเศษฯ พ.ศ. 2551