งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยินดีต้อนรับสู่การบริหารงานบุคคล สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยินดีต้อนรับสู่การบริหารงานบุคคล สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยินดีต้อนรับสู่การบริหารงานบุคคล สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
กองการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร

2 กฎหมายที่ใช้ในการบริหารงานบุคคล
- พรบ.ระเบียบบริหารราชการ กทม. พ.ศ.๒๕๒๘ - พรบ.ระเบียบข้าราชการ กทม. และบุคลากรกทม.พ.ศ.๒๕๕๔ - พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ - พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗

3 ๙๖,๘๗๕ ตำแหน่ง กรอบอัตรากำลังข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานคร
ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ลูกจ้างกรุงเทพมหานคร ๓๘,๐๘๕ ตำแหน่ง ๕๘,๗๙๐ ตำแหน่ง สามัญ ๒๑,๙๙๘ คน ประจำ ๓๙,๘๓๕ คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และ ขรก.ในถาบันอุดมศึกษา ๑๖,๐๘๗ คน ชั่วคราว และโครงการ ๑๘,๙๕๕ คน

4 โครงสร้างและประเภทตำแหน่งปัจจุบัน
เดิม ปัจจุบัน ระดับ ๘ ระดับ ๙ ระดับ ๑๑ ระดับทักษะพิเศษ ๗/๘ ระดับอาวุโส ๕/๖ ระดับชำนาญงาน ๑-๔ ๒-๔ ระดับปฏิบัติงาน ระดับ ๑๐ ๑๐-๑๑ ระดับทรงคุณวุฒิ ระดับเชี่ยวชาญ ระดับชำนาญการพิเศษ ๖/๗ ระดับชำนาญการ ๓-๕ ระดับปฏิบัติการ ระดับ สูง ต้น ๑๐/๑๑ ระดับ สูง ต้น ระดับ ๗ ทั่วไป อำนวยการ บริหาร ระดับ ๔-๖ หรือ ๗ วิชาการ ระดับ ๓-๕ หรือ ๖ ระดับ ๒-๔ หรือ ๕ ระดับ ๑-๓ หรือ ๔ ๓ ประเภทตำแหน่ง - ทั่วไป - วิชาชีพ/เชี่ยวชาญเฉพาะ - บริหารระดับกลาง/บริหารระดับสูง บัญชีเงินเดือนเดียว 4 ประเภทตำแหน่ง บัญชีเงินเดือนจำแนกประเภทตำแหน่ง กำหนดชื่อเรียกระดับตำแหน่งแทนตัวเลข

5 การจัดสายงานในแต่ละประเภทตำแหน่ง
ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ บริหาร ระดับทักษะพิเศษ ระดับทรงคุณวุฒิ ระดับสูง ระดับสูง ระดับอาวุโส ระดับเชี่ยวชาญ ระดับต้น ระดับต้น ระดับชำนาญงาน ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับปฏิบัติงาน ระดับชำนาญการ ระดับปฏิบัติการ

6 ตำแหน่งประเภทบริหารระดับต้น ตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง
- ผู้ช่วยปลัดกรุงเทพมหานคร - รองผู้อำนวยการสำนัก - ผู้ช่วยหัวหน้าสำนักงาน ก.ก. - ผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานคร (เป็นตำแหน่งผู้ตรวจราชการ ๙) - ปลัดกรุงเทพมหานคร - รองปลัดกรุงเทพมหานคร - ผู้อำนวยการสำนัก - หัวหน้าสำนักงาน ก.ก. (เป็นตำแหน่งผู้ตรวจราชการ ๑๐) ตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับต้น ตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับสูง - หัวหน้าสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการ กทม. - ผู้อำนวยการกอง - ผู้ช่วยเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร - ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขต - เลขานุการสภากรุงเทพมหานคร - ผู้อำนวยการเขต - ผู้อำนวยการสำนักงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ - ผู้อำนวยการส่วน - หัวหน้าฝ่าย - รองผู้อำนวยการโรงพยาบาล (ฝ่ายบริหาร) - ผู้อำนวยการศูนย์ (ศูนย์ฝึกอบรมสถาบันพัฒนาข้าราชการ กรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร)

7 การบรรจุและแต่งตั้ง : ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ
การบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้มีอำนาจในการบรรจุและแต่งตั้ง (๑) ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการสำนัก ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สั่งบรรจุและให้นายกรัฐมนตรี นำความกราบบังคมทูล เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง (๒) รองผู้อำนวยการสำนัก ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ (๓) ผู้อำนวยการกอง ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส ปลัดกรุงเทพมหานคร โดยคำแนะนำหรือความเห็นชอบ จากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ซี ๑๐ , ซี ๑๑ ซี ๙ ซี ๘

8 หน่วยงานเดียวกัน ต่างหน่วยงาน
การบรรจุและแต่งตั้ง : ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ การบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้มีอำนาจในการบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งอื่นนอกจากตำแหน่งตาม (๑) (๒) (๓) ใน - สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร - สำนักงาน ก.ก. - สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร - สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร - สำนักงานเขต - ปลัดกรุงเทพมหานคร - หัวหน้าสำนักงาน ก.ก. - เลขานุการสภา กทม. - หัวหน้าสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร - ผู้อำนวยการเขต หน่วยงานเดียวกัน ต่างหน่วยงาน

9 การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ และการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ที่อยู่ระหว่างการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ใช้กฎ ก.ก. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ และการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ที่อยู่ระหว่างการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕

10 ให้ทดลองต่อไปจนครบ ๖ เดือน
ประเมินครั้งที่ ๑ ขยายเวลาการทดลอง ๓ เดือน กรณีไม่ผ่านผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ สั่งให้ออกจากราชการ ประเมินครั้งที่ ๒

11 การเลื่อน การย้าย และการแต่งตั้งข้าราชการให้ดำรงตำแหน่ง
สำหรับตำแหน่งประเภททั่วไปและประเภทวิชาการ นิยามศัพท์ ๑. ประเภทตำแหน่ง หมายถึง การแบ่งประเภทตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ ตำแหน่งประเภทบริหาร ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ตำแหน่งประเภทวิชาการ และตำแหน่งประเภททั่วไป ตามมาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒. ระดับตำแหน่ง หมายถึง ระดับของตำแหน่งแต่ละประเภท เช่น ตำแหน่งประเภทวิชาการ แบ่งเป็น ระดับปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และทรงคุณวุฒิ ๓. การเลื่อนตำแหน่ง หมายถึง การที่ข้าราชการได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่มีระดับสูงกว่าเดิมภายในประเภทตำแหน่งเดียวกัน ทั้งนี้ อาจเป็นตำแหน่งในสายงานเดิมหรือต่างสายงานก็ได้

12 การเลื่อน การย้าย และการแต่งตั้งข้าราชการให้ดำรงตำแหน่ง
สำหรับตำแหน่งประเภททั่วไปและประเภทวิชาการ นิยามศัพท์ ๔. การย้าย หมายถึง การที่ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งหนึ่ง ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอื่น (ตำแหน่งเลขที่อื่น) ที่อยู่ในประเภทและระดับเดิม ซึ่งอาจเป็นสายงานเดียวกัน หรือต่างสายงานก็ได้ ๕. การแต่งตั้ง หมายถึง การที่ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งประเภทหนึ่ง ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอีกประเภทหนึ่ง เช่น ผู้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ โดยผ่านกระบวนการสรรหาตามวิธีที่กรุงเทพมหานครกำหนด

13 ประเภทตำแหน่งเดียวกัน การเลื่อนระดับตำแหน่ง
ประเภทตำแหน่งเดียวกัน การเลื่อนระดับตำแหน่ง ประเภทตำแหน่งทั่วไป ระดับตำแหน่ง หลักเกณฑ์และวิธีการ ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน ตามมติ ก.ก. ครั้งที่ ๔/๒๕๔๗ ครั้งที่ ๓/๒๕๔๙ และครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ (ปัจจุบันใช้มติ อ.ก.ก. วิสามัญเกี่ยวกับระบบราชการ การจัดส่วนราชการ และค่าตอบแทน ครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2557) 1. สอบคัดเลือก (เลื่อนไหล) 2. ทดลองปฏิบัติงาน 3. ประเมินผลงาน อาวุโส ตามมติ ก.ก. ครั้งที่ 4/2547 และใช้ ว.22/2540 เป็นแนวทาง โดยอนุโลม

14 ประเภทตำแหน่งเดียวกัน การเลื่อนระดับตำแหน่ง ประเภทตำแหน่งวิชาการ
ประเภทตำแหน่งเดียวกัน การเลื่อนระดับตำแหน่ง ประเภทตำแหน่งวิชาการ ระดับตำแหน่ง วิธีการ ปฏิบัติการ ชำนาญการ ตามมติ ก.ก. ครั้งที่ 6/2554 เมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔ โดยให้ใช้หลักเกณฑ์ตามมติ ก.ก. ครั้งที่ 6/2551 เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ชำนาญการพิเศษ ให้นำหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร /ว 22 ลงวันที่ 30 กันยายน 2540 มาใช้โดยอนุโลม เชี่ยวชาญ มติ ก.ก. ครั้งที่ 6/2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ตามที่ ก.ก. กำหนด และใช้ ว.16/2538 เป็นแนวทางโดยอนุโลม

15 การย้าย ย้ายตามนโยบาย ย้ายโดยผู้บังคับบัญชาอนุญาต ย้ายโดยบัญชีสอบ

16 ประเภทตำแหน่งเดียวกัน การย้าย
ประเภทตำแหน่งเดียวกัน การย้าย ประเภทตำแหน่งทั่วไป การย้ายในตำแหน่งประเภท การย้ายให้ดำรง ตำแหน่งระดับ หลักเกณฑ์และวิธีการ ทั่วไป ปฏิบัติงาน ว.9/2535 ชำนาญงาน มติ ก.ก. ครั้งที่ 4/2547 มติ ก.ก. ครั้งที่ 3/2549 มติ ก.ก. ครั้งที่ 10/2552 และตามมติ อ.ก.ก. วิสามัญเกี่ยวกับระบบราชการ การจัดส่วนราชการและค่าตอบแทน ครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2557 อาวุโส

17 ประเภทตำแหน่งเดียวกัน การย้าย ประเภทตำแหน่งวิชาการ
ประเภทตำแหน่งเดียวกัน การย้าย ประเภทตำแหน่งวิชาการ การย้ายในตำแหน่งประเภท การย้ายให้ดำรง ตำแหน่งระดับ หลักเกณฑ์และวิธีการ วิชาการ ปฏิบัติการ ว.9/2535 ชำนาญการและชำนาญการพิเศษ มติ ก.ก. ครั้งที่ 6/2554 โดยให้ใช้หลักเกณฑ์ตามมติ ก.ก. ครั้งที่ 6/2551 และตามมติ อ.ก.ก. วิสามัญเกี่ยวกับระบบราชการ การจัดส่วนราชการและค่าตอบแทน ครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2557 และหรือใช้ ว.9/2535 แล้วแต่กรณี เชี่ยวชาญและทรงคุณวุฒิ

18 หลักเกณฑ์การคัดเลือกบุคคลและการประเมินบุคคล
มติ ก.ก. ครั้งที่ 6/2554 เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2554 อนุมัติหลักเกณฑ์การคัดเลือกบุคคลและการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป และตำแหน่งประเภทวิชาการ โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 2554 เป็นต้นไป

19 หลักเกณฑ์การคัดเลือกบุคคลและการประเมินบุคคล
กำหนดให้การประเมินเพื่อการย้าย การโอน การบรรจุกลับและการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป) และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ สำหรับตำแหน่งระดับ 8 ลงมาของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 และ 4 ตามมติ ก.ก. ครั้งที่ 6/2551 เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2551

20 การพิจารณาคัดเลือกบุคคล
องค์ประกอบที่ใช้คัดเลือก มีดังนี้ คุณสมบัติของบุคคล คุณลักษณะของบุคคล รายละเอียดการเสนอผลงาน อื่นๆ ตามที่หน่วยงานเห็นสมควร

21 คุณสมบัติของบุคคล พิจารณาโดยคำนึงถึง คุณวุฒิการศึกษา
ประวัติการรับราชการ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงาน ที่ขอเข้ารับการคัดเลือก

22 คุณสมบัติของบุคคล (ต่อ)
บุคคลที่ขอรับการคัดเลือกต้องมีคุณสมบัติของบุคคล ดังนี้  มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่กำหนด ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง  มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของสายงานต่างๆ และ/หรือคุณวุฒิ เพิ่มเติมครบถ้วนตามที่ ก.ก.กำหนด (แพทย์ พยาบาล วิศวกร ฯลฯ)  มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งใน สายงานที่จะคัดเลือก ตามคุณวุฒิของบุคคลและระดับตำแหน่งที่ จะคัดเลือก ดังนี้

23 คุณสมบัติของบุคคล (ต่อ)
 มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่ง ในสายงานที่จะคัดเลือก ตามคุณวุฒิของบุคคลและระดับตำแหน่ง จะคัดเลือก ดังนี้ (ตำแหน่งประเภทวิชาการ) ระดับ คุณวุฒิ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ - ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า - ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า (หลักสูตร ๕ ปี) - ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า (หลักสูตร ๖ ปี) - ปริญญาโท หรือเทียบเท่า - ปริญญาเอก หรือเทียบเท่า 6 ปี ๕ ปี ๔ ปี 4 ปี 2 ปี 8 ปี ๗ ปี ๖ ปี

24 คุณลักษณะของบุคคล พิจารณาโดยคำนึงถึง ความรับผิดชอบ ความคิดริเริ่ม
การแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ ความประพฤติ ความสามารถในการสื่อความหมาย การพัฒนาตนเอง

25 การคัดเลือกบุคคล ผู้มีอำนาจในการคัดเลือกลงนามในประกาศผลการคัดเลือก สำหรับ ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ นำเสนอหัวหน้าหน่วยงาน เป็นผู้ลงนาม สำหรับระดับชำนาญการพิเศษ ให้หัวหน้าหน่วยงานนำเสนอปลัดกรุงเทพ-มหานครเป็นผู้ลงนามในประกาศ ส่งผลงานประเมินถึงส่วนราชการที่ปฏิบัติงานการเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานประเมินภายใน ๖ เดือนหลังจากประกาศผลการคัดเลือกครบ ๓๐ วัน หากไม่ส่งภายในระยะเวลาที่กำหนดให้ถือว่าประกาศผลการคัดเลือกนั้นเป็นอันยกเลิกทันที

26 การประเมินผลงาน ผลงานที่ส่งประเมิน
ผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมา อย่างน้อย 1 เรื่อง ซึ่งเป็นผลสำเร็จของงานที่เกิดจากการปฏิบัติงานในหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่งปัจจุบันซึ่งเกี่ยวข้องกับตำแหน่งที่ขอประเมิน มีจำนวนไม่น้อยกว่า 5 หน้าและไม่เกิน 10 หน้า ข้อเสนอ แนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่างน้อย 1 เรื่อง ควรเป็นแนวคิด วิสัยทัศน์ หรือแผนงานที่จะทำในอนาคต เพื่อพัฒนางานในตำแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้ง และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและให้มีการติดตามผล มีจำนวนไม่น้อยกว่า 2 หน้าและไม่เกิน 5 หน้า

27 คุณสมบัติของบุคคล  มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ดังนี้ (ตำแหน่งประเภททั่วไป) ระดับ คุณวุฒิ ชำนาญงาน - ประกาศนียบัตรวิชาชีพ - ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือ อนุปริญญา 2 ปี - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือ อนุปริญญา ๓ ปี 8 ปี 7 ปี 6 ปี

28 การโอน การรับโอน หมายถึง การที่กรุงเทพมหานครรับโอนพนักงานส่วนท้องถิ่น
หรือข้าราชการตามกฎหมายอื่นมาบรรจุเป็นข้าราชการกรุงเทพ- มหานครสามัญ การให้โอน หมายถึง การที่ข้าราชการกรุงเทพมหานครโอนไปรับราชการ สังกัดอื่น (กรม เทศบาล องค์การบริหาร ส่วนตำบล ฯลฯ)

29 การรับโอน กรณีสอบแข่งขันได้ กรณีปกติ

30 การรับโอน (กรณีปกติ) สายงานทั่วไป หน่วยงานตรวจสอบคุณสมบัติและส่งให้ กองการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร นำเสนอคณะกรรมการ กลั่นกรองการรับโอนพิจารณา สายงานขาดแคลน หมายถึง สายงานที่ ก.ก.กำหนดวุฒิให้ใช้ใน การคัดเลือก กับตำแหน่งหรือสายงานที่กรุงเทพมหานครเห็นว่า มีความจำเป็น เช่น สายงานแพทย์ พยาบาล ฯลฯ ให้หน่วยงานตรวจสอบคุณสมบัติและส่งให้ กองการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร เสนอผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ขอความเห็นชอบก่อนนำเสนอ ก.ก. พิจารณาอนุมัติรับโอนตามอำนาจหน้าที่ ต่อไป

31 การรับโอน หลักเกณฑ์การรับโอน ตามมติ ก.ก. ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555 ต้องเป็นตำแหน่งที่ไม่อยู่ระหว่างการดำเนินการสอบแข่งขัน สอบคัดเลือก หรือมีบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ หรือสอบคัดเลือก หรือมีข้าราชการกรุงเทพมหานคร ยื่นคำร้องขอย้ายไว้ก่อน คุณสมบัติของผู้ขอโอน - อายุไม่เกิน 40 ปีในวันที่ยื่นคำร้องขอโอน ไม่อยู่ระหว่างถูกสอบสวน / ลงโทษทางวินัย - ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องหรือตรงกับตำแหน่งที่รับโอนไม่น้อยกว่า 1 ปี

32 การรับโอน อำนาจในการพิจารณาอนุมัติรับโอน ระดับ ผู้มีอำนาจอนุมัติ
- ปฏิบัติการ / ชำนาญการ สำนักงาน ก.ก. - ชำนาญการพิเศษ อ.ก.ก.สามัญข้าราชการสามัญ - สูงกว่าชำนาญการพิเศษหรือกรณีที่ ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ก.ก.

33 การให้โอน ผู้ประสงค์ขอโอนยื่นคำร้องต่อหน่วยงานอื่นโดยตรง หรือ
ผู้ประสงค์ขอโอนยื่นคำร้องต่อหน่วยงานอื่นโดยตรง หรือ ยื่นคำร้องต่อหน่วยงานต้นสังกัดของผู้โอน จัดทำหนังสือแจ้งรายละเอียดการตรวจสอบไปยังหน่วยงานที่รับโอน หน่วยงานต้นสังกัดได้รับคำสั่งรับโอน ให้จัดทำคำสั่งให้โอนและ หนังสือส่งตัว พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องมอบให้ผู้โอนเดินทางไป ปฏิบัติหน้าที่ส่วนราชการใหม่ สำเนาคำสั่งแจ้งกองการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร / สำนักงาน ก.ก.

34 การให้โอน ข้อควรระวัง ดูเงื่อนไขในคำสั่งบรรจุและแต่งตั้ง
ข้อควรระวัง ดูเงื่อนไขในคำสั่งบรรจุและแต่งตั้ง ผู้ที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งจะต้องปฏิบัติงานให้กรุงเทพมหานคร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๕ ปี โดยห้ามโอนไปหน่วยงานหรือส่วนราชการอื่น เว้นแต่ลาออกจากราชการ

35 การบรรจุกลับ หลักเกณฑ์การบรรจุกลับ มติ ก.ก. ครั้งที่ 3/2554 เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2554 ต้องไม่อยู่ในระหว่างเปิดสอบแข่งขัน สอบคัดเลือก คัดเลือก หรือมีบัญชีสอบแข่งขันได้ หรือบัญชีสอบคัดเลือกในตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งผู้ขอกลับเข้ารับราชการนั้น เว้นแต่ ผู้ขอกลับเข้ารับราชการนั้น เป็นผู้ออกจากราชการไปดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ผู้บริหารและสมาชิกสภาท้องถิ่น และสมาชิกสภาเขต หรือลาออกจากราชการเพื่อติดตามคู่สมรสไปรับราชการในต่างประเทศ หรือพ้นจากราชการไปเพราะถูกยุบเลิกตำแหน่ง คุณสมบัติของผู้ขอบรรจุกลับ - อายุไม่เกิน 40 ปี ในวันที่ขอกลับเข้ารับราชการ - มีอายุราชการไม่น้อยกว่า 2 ปี เว้นแต่ผู้ขอกลับเข้ารับราชการในสายงานขาดแคลน “สายงานขาดแคลน” หมายถึง สายงานที่ ก.ก. กำหนดวุฒิให้คัดเลือก เพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการแทนการสอบแข่งขัน *กรณีที่นอกเหนือจากนี้ หรือมีเหตุผลความจำเป็นพิเศษให้เสนอ ก.ก. พิจารณา*

36 การให้ข้าราชการได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิการศึกษา
๑. หนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่ สร ๐๗๐๕/ว ๑๒ ลงวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๒๐ กำหนดหลักเกณฑ์ในการให้ข้าราชการได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิไว้ ดังนี้ ๑.๑ ให้อธิบดีผู้บังคับบัญชาหรือผู้บังคับบัญชาที่ได้รับมอบหมายจากอธิบดีปรับเงินเดือนของ ข้าราชการ (ในส่วนของกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง ตามมาตรา ๕๒) ๑.๒ ปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ได้รับเพิ่มขึ้นหรือสูงขึ้นต้องเป็นปริญญาหรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ ก.พ.รับรองจากสถาบันการศึกษาภายในประเทศ และได้กำหนด เงินเดือนที่ควรได้รับไว้แล้วและต้องเป็นวุฒิทางเดียวกันกับทางที่ ก.พ. กำหนดไว้ในมาตรฐาน กำหนดตำแหน่งว่าเป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่ผู้นั้นได้รับแต่งตั้ง ๑.๓ วันที่ปรับเงินเดือนต้องไม่ก่อนวันที่ผู้นั้นได้รับวุฒิเพิ่มขึ้นหรือสูงขึ้นและไม่ก่อนวันที่ได้รับ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนั้น รวมทั้งไม่ก่อนวันที่ ก.พ. ได้กำหนดวุฒิตามที่ได้รับมาเป็นคุณสมบัติ เฉพาะสำหรับตำแหน่งไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

37 การให้ข้าราชการได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิการศึกษา
๒. หนังสือศาลาว่าการกรุงเทพมหานครที่ กท ๙๐๓๖/๒๖๔๙ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๒๙ กำหนดวันที่สั่งปรับอัตราเงินเดือนตามคุณวุฒิไว้ ดังนี้ ๒.๑ ตั้งแต่วันที่ผู้นั้นได้รับวุฒิเพิ่มขึ้นหรือสูงขึ้น ๒.๒ ไม่ก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนั้น ๒.๓ ไม่ก่อนวันที่ ก.ก. ได้กำหนดให้วุฒิตามที่ได้รับมาเป็นคุณสมบัติเฉพาะ สำหรับตำแหน่งไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งสำหรับตำแหน่งนั้น ๒.๔ ไม่ก่อนวันเริ่มต้นปีงบประมาณที่ขอปรับอัตราเงินเดือนตามวุฒิ ๒.๕ กรณีที่ได้รับอนุญาตให้ลาศึกษา ต้องไม่ก่อนวันรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติ หน้าที่ในตำแหน่งนั้น

38 การให้ข้าราชการได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิการศึกษา
๓. กฎ ก.พ.ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินเดือน พ.ศ. ๒๕๕๑ กำหนดให้ผู้ได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตร วิชาชีพเพิ่มขึ้นหรือสูงขึ้น ซึ่ง ก.พ. รับรองว่า ปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ได้รับเพิ่มขึ้นหรือสูงขึ้นนั้น เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งและกำหนดเงินเดือนที่ควรได้รับ ในตำแหน่งประเภท สายงาน ระดับ และอัตรานั้นไว้แล้ว (มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง อาจปรับให้ได้รับเงินเดือนในตำแหน่งประเภท สายงาน ระดับ และอัตราที่ ก.พ. กำหนด ตาม (๑) ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ (ก) ผู้ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าเพิ่มขึ้น หรือสูงขึ้นจากประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า จะต้องดำรงตำแหน่ง ที่ได้รับแต่งตั้งโดยใช้วุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่ามาแล้ว ไม่น้อยกว่าหนึ่งปี

39 การให้ข้าราชการได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิการศึกษา
(ข) ผู้ได้รับปริญญาโทเพิ่มขึ้นหรือสูงขึ้นจากปริญญาตรี จะต้องดำรง ตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง โดยใช้วุฒิปริญญาตรีมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี (ค) ผู้ได้รับปริญญาเอกเพิ่มขึ้นหรือสูงขึ้นจากปริญญาโท จะต้องดำรง ตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง โดยใช้วุฒิปริญญาโทมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี (ง) ผู้ได้รับวุฒิเพิ่มขึ้นและเป็นวุฒิที่ ก.พ. กำหนดให้เป็นคุณวุฒิที่ใช้คัดเลือก เพื่อบรรจุเข้ารับราชการ ปรับให้ได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นไม่ก่อนวันที่ได้รับคุณวุฒิเพิ่มขึ้น

40 การให้ข้าราชการได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิการศึกษา
๔. อัตราเงินเดือนสำหรับวุฒิที่ ก.พ. รับรองเพื่อการบรรจุและแต่งตั้ง เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ (ตั้งแต่ ๑ มกราคม ๒๕๕๗) คุณวุฒิ อัตราเงินเดือน - ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา 2 ปี - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา ๓ ปี - ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า - ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (หลักสูตร ๕ ปี) - ปริญญาโทหรือเทียบเท่า - ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า ๙,๔๐๐ ๑๐,๘๔๐ ๑๑,๕๐๐ ๑๕,๐๐๐ ๑๕,๘๐๐ ๑๗,๕๐๐ ๒๑,๐๐๐

41 กองการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
กองการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร ( ฝ่ายบรรจุและแต่งตั้ง โทร หรือ


ดาวน์โหลด ppt ยินดีต้อนรับสู่การบริหารงานบุคคล สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google