พิสูจน์หลักฐาน จากอุบัติเหตุทางถนน โดยความบกพร่องของยานยนต์ ศิริบูรณ์ เนาว์ถิ่นสุข 15 กันยายน 2015 เชียงใหม่
“เหตุการณ์” ทีศึกษาได้เองนอกเวลาจาก YouTube ------------------------------------------------- Car Crash Compilations Crash Tests by NHTSA Crash Tests by IIHS
“องค์ความรู้” ที่ศึกษาได้เองนอกเวลาจาก Google ----------------------------------------------- Road Accident Investigation Road Accident Re-construction Critical Speed Calculation Safety Equipments
ประเด็นที่หาเรียนไม่ได้ ------------------------------ Active Safety (pre-crash) Driving Commands Critical Vehicle Dynamics Contact Patches Passive Safety (post-crash)
SEQUENCE OF IMPACT ระหว่างยานยนต์กับคู่กรณี ระหว่างร่างผู้โดยสารกับอุปกรณ์ภายในยานยนต์ ระหว่างร่างผู้โดยสารด้วยกันภายในยานยนต์ ระหว่างอวัยวะภายในร่างกาย -------------------------------------- ระหว่างร่างผู้โดยสารบนท้ายรถกระบะกับคู่กรณี ระหว่างร่างผู้ขับขี่จักรยานยนต์กับคู่กรณี
มันเกิดขึ้นได้อย่างไร มันเกิดขึ้นได้อย่างไร? (ต้นเหตุ) ---------------------------- คำสั่งของผู้ขับขี่ สมรรถนะของยานยนต์ สภาพของถนน & สิ่งแวดล้อม
“หน้าที่”ของผู้ขับขี่ ------------------------ “แบ่งถนนกันใช้ตามกฎจราจร” 1. ปรับ”ระยะต่อ”ให้อยู่ในระยะปลอดภัย 2. ปรับ”ระยะเคียง”ให้อยู่ในระยะปลอดภัย #ต้องทำหน้าที่ทั้งสองโดยไม่ว่างเว้น (full-time)!
“คำสั่ง”ของผู้ขับขี่ Driving Commands ----------------------------------------------------- คำสั่งเดี่ยว: 1. ความเร็วคงที่ เร่ง ชะลอ 2. ตรง เบนซ้าย เบนขวา คำสั่งควบ: 1. ชะลอความเร็ว + เลี้ยวแคบลง 2. คลายวงเลี้ยว + เร่งความเร็ว
สมรรถนะของยานยนต์ ------------------------------- การควบคุมล้มเหลว จนเกิดอุบัติเหตุ -----เมื่อผู้ขับขี่ไม่เลือกคำสั่งเลย (black-out) -----เมื่อผู้ขับขี่ล่าช้าในการเลือกคำสั่ง -----เมื่อผู้ขับขี่เลือกใช้คำสั่งผิด -----เมื่อผู้ขับขี่เลือกใช้คำสั่งถูก แต่ยานยนต์ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง
สมรรถนะของยานยนต์บกพร่อง ------------------------------------------- เร่งไม่ขึ้น (Speed Control) -----สายคันเร่งขาด -----คันเร่งไฟฟ้าบอด -----เครื่องยนต์ไม่มีแรง -----คลัตช์ลื่น -----เกียร์อัตโนมัติไม่ Kick-down
สมรรถนะของยานยนต์บกพร่อง ------------------------------------------- เบรกไม่อยู่ (Speed Control) -----ผ้าเบรกหมด -----ผ้าเบรกชั้นเลว -----จานเบรกเล็ก -----จานเบรกร้อน -----น้ำมันเบรกรั่ว / หมด
สมรรถนะของยานยนต์บกพร่อง ------------------------------------------- แหกโค้ง (Directional Control) -----รถขับล้อหน้า + ออกจากโค้ง + กดคันเร่งจม -----พุ่งเข้าไปในโค้ง + เบรกหน้าจับมากเกินไป -----ยางหน้าหมดอายุ -----ยางหน้าลมอ่อน -----ลูกหมากล้อหน้าหลวม -----Shock-absorber หน้าหมดอายุ
สมรรถนะของยานยนต์บกพร่อง ------------------------------------------- ท้ายปัด (Directional Control) -----รถขับล้อหน้า + เบรกเข้าไปในโค้ง + เบรกหลังจับมากเกินไป -----ยางหลังหมดอายุ -----ยางหลังลมอ่อน -----ลูกหมากล้อหลังหลวม -----Shock-absorber หลังหมดอายุ
สมรรถนะของยานยนต์บกพร่อง ------------------------------------------- ฉกซ้าย-ฉกขวา (Directional Control) -----นิสัยถาวรของรถขับล้อหน้า -----ยางหมดอายุ -----ลูกหมากหลวม -----ลูกปืนล้อหลวม -----Toe-out หน้า / หลัง -----Shock-absorber หมดอายุ
Critical Vehicle Dynamics ----------------------------------- เมื่อผู้ขับขี่มีคำสั่งให้รถยนต์ ----เปลี่ยนความเร็ว ----เปลี่ยนทิศทาง ย่อมเกิดอาการ”ถ่ายเทน้ำหนัก” ----ในทิศทาง”หน้า-หลัง” ----ในทิศทาง”ซ้าย-ขวา” ----ในทิศทางเฉียง
Contact Patch ของยางไม่มีดอก -------------------------------------------
ความรุนแรงของอุบัติเหตุ (ปลายเหตุ) -------------------------------------------------- โครงสร้างหลัก (Chassis / Body-shell) -----มอเตอร์ไซค์ไม่มี Body-shell -----รถเก๋งมี Unitary Body-shell -----รถกระบะมี Body-shell ท่อนบน -----รถบัสมี Body-shell วางบนรางคู่ -----18/22 ล้อมีโครงสร้าง Articulate
ความรุนแรงของอุบัติเหตุ (ต่อ) ----------------------------------------- การยับย่น (Crumpling / Deformation) -----หน้าย่น -----หลังย่น -----ห้องโดยสารต้องรักษารูป -----รถบัสเมืองไทย ชนแรงจะแตกสลายทั้งคัน -----18/22 ล้อ ชนแรงจะแยกพวงออกจากกัน
ความรุนแรงของอุบัติเหตุ (ต่อ) การคำนวณความเร็วจากสภาพยับย่น -------------------------------------------------- ----ไม่มี”สูตรอนุบาล”ที่จะคำนวณได้แม่นยำ ----เพราะรถแต่ละคันออกแบบให้ยับย่นต่างกัน ----ถ้าทำได้จริง ย่อมไม่จำเป็นต้องทำ Crash Test ----------------------------------------------------------------- ----แล้วจะสืบค้นได้จากอะไร? อย่างไร?
การสืบค้นหาความเร็วของ”จุดสัมผัส” ------------------------------------------------- ใช้ข้อมูลที่บันทึกใน “OBD” ---G-forces (long-G, lat-G) ---รอบฯเครื่องยนต์ ---ตำแหน่งเกียร์
Gear Ratios (ตัวอย่าง) ------------------------------ ----เกียร์-1: 4
สูตรคำนวณความเร็ว 4. 787 x Tire-OD(in สูตรคำนวณความเร็ว 4.787 x Tire-OD(in.) x KRPM กม/ชม = ------------------------------------------ Gear Ratio x Final Drive Ratio
คำนวณความเร็ว ตัวอย่าง: ที่ปลายเกียร์-3 ขนาดยาง: 265/65R17 4 คำนวณความเร็ว ตัวอย่าง: ที่ปลายเกียร์-3 ขนาดยาง: 265/65R17 4.787 x 30 x 3.5 กม/ชม = ----------------------- = 89.5 1.4364 x 3.9091
ความรุนแรงของอุบัติเหตุ (ต่อ) ----------------------------------------- ถังเชื้อเพลิงแตก -----ถังน้ำมัน รั่วลงพื้นดิน -----ถัง LPG รั่วลงพิ้นดิน -----ถัง CNG ลอยขึ้นฟ้า
ความรุนแรงของอุบัติเหตุ (ต่อ) ----------------------------------------- การเกาะยึดของเก้าอี้ (Seat Anchorage) -----รถเก๋งไม่เป็นปัญหา -----รถตู้ส่วนใหญ่ยังเป็นปัญหา -----รถบัสส่วนใหญ่ยังเป็นปัญหา
ความรุนแรงของอุบัติเหตุ (ต่อ) ----------------------------------------- กระจกนิรภัย (Safety-glass) -----Tempered-glass -----Laminated-glass -----เป็น Containment ให้ผู้โดยสาร -----หนีออกจากรถไฟไหม้ลำบาก -----หนีออกจากรถจมน้ำลำบาก -----ค้อนทุบกระจกในรถบัส?
ความรุนแรงของอุบัติเหตุ (ต่อ) ----------------------------------------- แถบรั้งนิรภัย (Safety-harness / restrain) -----แบบ 2 / 3 จุด -----แบบ 4 / 5 / 6 จุด -----แบบที่ใช้ร่วมกับ Air-bag -----แบบที่ไม่ใช้ร่วมกับ Air-bag -----ปลดไม่ออกยามคับขัน (upside-down)
ความรุนแรงของอุบัติเหตุ (ต่อ) ----------------------------------------- ถุงลมนิรภัย (Air-bag) -----เงื่อนไขที่ไม่พองตัว (ข้อแก้ตัว) ----------ความเร็วของรถไม่พอ ----------มุมปะทะเฉียงเกินไป ----------ชนไม่ตรงตำแหน่งของ Front Sensor -----ความเร็วของการพองตัว
ร่องรอยหลักฐานณที่เกิดเหตุ -------------------------------------- ----ถ่ายรูปภายนอกอย่างน้อย 8 ทิศจากระยะห่าง ----ถ่ายรูปจุดปะทะ primary impact จากระยะประชิดอย่างน้อย 3 ทิศ ----ถ่ายรูปรอยครูด ขูด ขีด และ สีฝากบนตัวถัง ----ถ่ายรูป”แท่นเครื่อง”ที่เสียหาย ----ถ่ายรูป“ช่วงล่าง” ที่เสียหาย
ร่องรอยหลักฐานณที่เกิดเหตุ (ต่อ) ---------------------------------------------- ----ถ่ายรูปวันผลิตยาง ดอกยาง ยี่ห้อ รุ่น และขนาด (วัดและบันทึกแรงดันลมยางทุกเส้น) ----ถ่ายรูปล้อที่เสียหายจากแรงปะทะหรือบดขยี้ ----ถ่ายรูปและเก็บตัวอย่างของเหลวบนพื้น ตรงจุดปะทะ ----ถ่ายรูปและเก็บตัวอย่างเศษแก้วและพลาสติก ตรงจุดปะทะ
ร่องรอยหลักฐานภายใน ----กระจกหน้า ----กระจกข้าง ----แผงหน้าปัด ----แผงประตู ----พวงมาลัย ----รอยฝากผิวหนังถลอก ----รอยเปื้อนสารคัดหลั่ง ----รอยที่เสียรูปทรงจากปกติ
ร่องรอยหลักฐานภายใน ----จุดยึดขาเก้าอี้ (รถตู้ รถบัส) ----รอยเปื้อนสารคัดหลั่ง ----รอยฝากผิวหนังถลอก ----รอยที่เสียรูปทรงจากปกติ ----ชิ้นส่วนของใช้ส่วนตัวที่ตกค้าง ----ชิ้นส่วนร่างกายที่ตกค้าง ----ตำแหน่งท่าของผู้เสียชีวิต -----“มือดี” เก็บของที่ระลึกไปแล้ว
ณ ที่เกิดเหตุ (หน้างาน) ไม่ควรรีบ ”สันนิษฐาน” โดย “สูตรสำเร็จ” -----เบรกแตก (รถบกพร่อง) -----ยางระเบิด (รถบกพร่อง) -----ประมาท (คนบกพร่อง) -----หลับใน (คนบกพร่อง) -----เมา (คนบกพร่อง)
HOTLINE 24/7 ------------------- 081-940-7144 siriboonnawa (line) siriboon1945@gmail.com