งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
หนังสือหน้า หมายเลข งานส่งกำลังรถยนต์ สงวนลิขสิทธิ์ 13/ /1 หน่วยที่ 2 การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก

2 การควบคุมคลัตช์ด้วยกลไก
หนังสือหน้า หมายเลข 13/ /2 สงวนลิขสิทธิ์ จุดมุ่งหมายของหน่วยเรียน 1. อธิบายสาระสำคัญประจำหน่วยได้ 2. อธิบายการควบคุมคลัตช์แบบกลไกสายสลิงและ ตัวกดคลัตช์ได้ 3. ปฏิบัติการตรวจปรับแป้นเหยียบและระยะฟรี สายคลัตช์ได้ 4. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ประณีต รอบคอบและตระหนักถึง ความปลอดภัย

3 พื้นฐานการควบคุมคลัตช์แบบกลไก
หนังสือหน้า หมายเลข 15/ /3 สงวนลิขสิทธิ์ ล้อช่วยแรง เหยียบคลัตช์ เพลาข้อเหวี่ยง เพลาคลัตช์ ผ้าคลัตช์ ปล่อยคลัตช์

4 การควบคุมคลัตช์แบบกลไกสายสลิง
หนังสือหน้า หมายเลข 15/ /4 สงวนลิขสิทธิ์ 1. คลัตช์ตำแหน่งส่งกำลัง คลัตช์ตำแหน่งไม่ส่งกำลัง

5 ลูกปืนกดคลัตช์ หนังสือหน้า หมายเลข /5 สงวนลิขสิทธิ์

6 การตรวจปรับคลัตช์ หนังสือหน้า หมายเลข 18/1 2/6 ชุดยึดขาคลัตช์
หนังสือหน้า หมายเลข 18/ /6 สงวนลิขสิทธิ์ ชุดยึดขาคลัตช์ ชุดสปริงดัน ขาคลัตช์กลับ จานคลัตช์ ชุดกดคลัตช์

7 การปรับแต่งแป้นเหยียบคลัตช์
หนังสือหน้า หมายเลข 18/ /7 สงวนลิขสิทธิ์ + 5 - 0 + 0.20 - 0 มม. (8.82 นิ้ว) ความสูงแป้นเหยียบ

8 กิจกรรมที่ 2 1. จงเขียนประเภทคลัตช์และประเภทใช้งานในตารางต่อไปนี้
หนังสือหน้า หมายเลข 20/ /8 สงวนลิขสิทธิ์ 1. จงเขียนประเภทคลัตช์และประเภทใช้งานในตารางต่อไปนี้ คลัตช์ ประเภทงานและชุดกดคลัตช์ ………………………………………………. ……………………………………………… ประเภทใช้งาน สำหรับ ……………………………….

9 กิจกรรมที่ 2 2. แรงเสียดทานของคลัตช์ขึ้นอยู่กับอะไร
หนังสือหน้า หมายเลข 20/ /9 สงวนลิขสิทธิ์ 2. แรงเสียดทานของคลัตช์ขึ้นอยู่กับอะไร 2.1 …………..……...………………………………………. ….………………………………………...…………….. 2.2 ……………..……...…………………………………….. 3 ชุดกดคลัตช์ส่งกำลังด้วยแรงกดสปริง กลไก เป็นอย่างไร ถ้าใช้สปริงแข็งขึ้นจะมีผลอะไร ……………………………………………………...…………….. จานคลัตช์ เมื่อไม่ได้เข้าคลัตช์

10 กิจกรรมที่ 2 หนังสือหน้า หมายเลข 21/ /10 สงวนลิขสิทธิ์ 4. จงเขียนวิธีแก้ไขข้อขัดข้องของคลัตช์ ซึ่งมีอาการต่อไปนี้ ข้อขัดข้อง 1 คลัตช์ลื่น เมื่อเหยียบคันเร่งเครื่องยนต์ รอบจัดขึ้น แต่อัตราเร่งรถ แล่นไม่ทันใจ หรือรถขึ้น เนินเขารถไม่มีแรงไต่และ มีกลิ่นคลัตช์ไหม้ สาเหตุ วิธีแก้ไข ระยะฟรีขาคลัตช์ไม่มี ……………………………….. การสึกหรอล้อหน้าช่วยแรง ……………………………….. หรือหน้าแผ่นคลัตช์ไม่สม่ำเสมอ ……………………………….. สปริงชุดกดคลัตช์อ่อน ……………………………….. ผ้าคลัตช์แข็งกระด้าง ……………………………….. ผ้าคลัตช์เปื้อนน้ำมันเกียร์หรือ ……………………………….. จาระบี ……………………………….. ผ้าคลัตช์สึกหรอมาก ……………………………….. กลไกขาเหยียบคลัตช์ค้าง ………………………………..

11 กิจกรรมที่ 2 ข้อขัดข้อง สาเหตุ วิธีแก้ไข 2 คลัตช์ลากหรือคลัตช์จาก
หนังสือหน้า หมายเลข 21/ /11 สงวนลิขสิทธิ์ ข้อขัดข้อง 2 คลัตช์ลากหรือคลัตช์จาก ไม่สุด เข้าเกียร์ยาก แม้จะเหยียบ คลัตช์จนสุด 3 ผ้าคลัตช์สึกหรอเร็ว สึกหรอเร็วกว่าเวลาอันควร สาเหตุ วิธีแก้ไข ระยะฟรีขาเหยียบคลัตช์มาก ……………………………….. นิ้วคลัตช์สึกหรอมากหรือความสูง ……………………………….. นิ้วคลัตช์ไม่เท่ากัน ……………………………….. ลูกปืนกดคลัตช์สึกหรอมากหรือ ……………………………….. ติดตาย ……………………………….. จานคลัตช์บิดงอ ……………………………….. ลูกปืนหัวเพลาคลัตช์หลวม ……………………………….. ดุมคลัตช์สกปรกหรือชำรุด ……………………………….. เคลื่อนตัวไม่สะดวก ……………………………….. ปรับแต่งขาเหยียบคลัตช์ไม่ถูก ……………………………….. สปริงชุดกดคลัตช์ล้าหรือหัก ……………………………….. ใช้คลัตช์มากเกินไป ……………………………….. ผู้ขับมักเอาเท้าแตะแป้นเหยียบ ……………………………….. คลัตช์ไว้ ………………………………..

12 กิจกรรมที่ 2 ข้อขัดข้อง สาเหตุ วิธีแก้ไข 4 คลัตช์สั่นเมื่อคลัตช์
หนังสือหน้า หมายเลข 22/ /12 สงวนลิขสิทธิ์ ข้อขัดข้อง 4 คลัตช์สั่นเมื่อคลัตช์ ส่งกำลัง 5 คลัตช์สั่นเมื่อเหยียบคลัตช์ สาเหตุ วิธีแก้ไข หมุดย้ำผ้าคลัตช์หลวม ……………………………….. ผ้าคลัตช์เปื้อนน้ำมันหรือจาระบี ……………………………….. การสึกหรอหน้าล้อช่วยแรง หรือ ……………………………….. หน้าแผ่นกดคลัตช์ไม่สม่ำเสมอ ……………………………….. ลูกปืนกดคลัตช์ชำรุดหรือขาด ……………………………….. การหล่อลื่น ……………………………….. ความสูงนิ้วคลัตช์ไม่เท่ากัน ……………………………….. ลูกปืนหรือบุ๊ชหัวเพลาคลัตช์ชำรุด ……………………………….. ชุดกดคลัตช์ชำรุด ………………………………..

13 กิจกรรมที่ 2 ข้อขัดข้อง สาเหตุ วิธีแก้ไข 6 เครื่องยนต์ดับเมื่อ
หนังสือหน้า หมายเลข 22/ /13 สงวนลิขสิทธิ์ ข้อขัดข้อง 6 เครื่องยนต์ดับเมื่อ เหยียบคลัตช์ 7 คลัตช์มีเสียงดังเมื่อ สาเหตุ วิธีแก้ไข ลูกปืนกดคลัตช์ไม่ดี ……………………………….. แบริ่งกันรุนเพลาข้อเหวี่ยงละลาย ……………………………….. ลูกปืนกดคลัตช์ชำรุด ……………………………….. ดุมจานคลัตช์หลวมในเพลา ……………………………….. สปริงจานคลัตช์หักหรือชำรุด ……………………………….. ลูกปืนหัวเพลาคลัตช์ชำรุด ……………………………….. 5. ตั้งระยะคลัตช์ T และ S หมายถึง อะไร ควรมีระยะเท่าใด T = ……………………………...……...…….. S = ……………………………….…….....…..

14 การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
จบหน่วยที่ 2 การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก


ดาวน์โหลด ppt การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google