5.2 การผันผวนทางเศรษฐกิจ การว่างงาน และภาวะเงินเฟ้อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
บทที่ 6 งบประมาณ.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ส่วนประกอบของการอรรถาธิบาย
กระบวนการของการอธิบาย
GDP GNP PPP.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
เงินเฟ้อ Inflation.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
The Theory of Comparative Advantage: Overview
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
SMS News Distribute Service
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
3 M + E M = Material M = Machine M = Man power E =Energy.
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
บทที่ 2 ความสำคัญและการคำนวณรายได้ประชาชาติ.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

5.2 การผันผวนทางเศรษฐกิจ การว่างงาน และภาวะเงินเฟ้อ 5.2 การผันผวนทางเศรษฐกิจ การว่างงาน และภาวะเงินเฟ้อ เพื่อเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของทั้ง 3 ส่วน จะเริ่มด้วยการทำความเข้าใจที่มาของราคาซึ่งเกิดจากความผันผวนของอุปสงค์รวม และอุปทานรวมก่อน

อุปสงค์มวลรวมและรายได้รวม : การกำหนดดุลยภาพ “ราคาดุลยภาพ” เป็นราคาๆ หนึ่งที่ปริมาณความต้องการเท่ากับปริมาณที่ผู้ขายยินดีขาย “รายได้ดุลยภาพ” มีความหมายที่คล้ายกัน i.e. รายได้ดุลยภาพ คือ ระดับรายได้หนึ่ง (จากหลายระดับที่เป็นไปได้) ที่เป็นมูลค่าของเศรษฐกิจของประเทศหนึ่งๆ ซึ่งอุปสงค์รวมของสินค้าทั้งหมดเท่ากับมูลค่าของสินค้าที่หน่วยธุรกิจในประเทศนั้นต้องการผลิต

อุปสงค์มวลรวม สมมติมี 2 สาขาเศรษฐกิจ อุปสงค์รวม = การบริโภครวม + การลงทุนที่ตั้งใจ การบริโภครวม (C) = f(Y) การออม (S) = Y – C การลงทุน (I) = I(Y)

Qn : อะไรเป็นปัจจัยกำหนดการลงทุน ? การลงทุนของธุรกิจสัมพันธ์กับระดับรายได้ของธุรกิจ ซึ่งกระทบโดยระดับรายได้ของประเทศ I I I2 I1 Income y1 y2 Qn : อะไรเป็นปัจจัยกำหนดการลงทุน ? Ans: ปัจจัยที่ทำให้เกิดกำไรนั่นเองซึ่งจะดูได้ดังต่อไปนี้

ปัจจัยกำหนดการลงทุน 1. ความผันแปรของรายได้รวม 2. อัตราดอกเบี้ย 3. การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสินค้าใหม่ 4. การทดแทนเครื่องจักรอุปกรณ์ 5. ปริมาณของทุนที่มีอยู่

1. ความผันแปรของรายได้รวม มูลค่าการลงทุนได้รับผลกระทบจากยอดรายได้ทั้งหมดในประเทศ คนมีรายได้มากย่อมซื้อมากและเกิดการผลิต เพราะนักธุรกิจหวังว่ากำไรจะมากขึ้น 2. อัตราดอกเบี้ย ทุนที่นักธุรกิจใช้จ่ายในการลงทุนมาจากการกู้ยืม หรือทุนที่มีอยู่เอง (saving ของธุรกิจ) ซึ่งมีต้นทุนคือ interest (i) จึงมีสัมพันธ์ทางตรงข้ามกับความต้องการลงทุน ถ้า i สูงเส้น I = f(y) จะเคลื่อนลงมา

3. การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี เครื่องมือบางอย่างยังมีสภาพใช้งานได้ดี แต่อาจไม่ช่วยให้มีต้นทุนต่ำสุดแล้วก็ได้ ดังนั้นเมื่อมีเทคโนโลยีใหม่ๆ เกิดขึ้น ประสิทธิภาพสูงขึ้น  ต้นทุนที่ต่ำกว่า ผู้ใช้ technology ใหม่เร็วกว่าย่อมมีโอกาสได้เปรียบสูงกว่า (ได้ permium) เมื่อมี technology ใหม่ เส้น I จะเคลื่อนขึ้น (เมื่อแกนนอนเป็น Y) Qn : ประเด็นนี้ขัดแย้งกับ แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม่อย่างไร ?

4. การทดแทนอุปกรณ์เก่า การทดแทนเครื่องจักรอุปกรณ์สามารถเลื่อนไปได้จนกว่าธุรกิจเห็นว่าสภาวะเศรษฐกิจจะดี และมีกำไร ถ้า prospect ดี จะมีการลงทุนในโรงงานใหม่ & อุปกรณ์ใหม่ ช่วงการขยายตัวของธุรกิจในวัฎจักรเศรษฐกิจ ทำให้เกิดการคาดคะเนกำไรที่สูงขึ้น และลงทุนมากขึ้น ทำให้เส้น I เคลื่อนสูงขึ้น

5. ปริมาณของทุนที่มีอยู่แล้ว ถ้าธุรกิจมีทุน (capital) ในรูปของเครื่องมืออุปกรณ์อยู่ในมือมากอยู่แล้ว การลงทุนใหม่จะไม่เพิ่มขึ้นมากเท่าที่ควร ปัจจัยกำหนด การออม (S) อัตราดอกเบี้ยไม่ใช่ปัจจัยเดียว เช่น ออมเพื่อต้องการซื้อบ้านในอนาคต ออมเพื่อต้องการศึกษา ออมเพื่อความมั่นคง (เผื่อตกงาน) ออมเพื่อเกษียณอายุ ออมเพื่อสะสมความมั่นคั่ง (i มีผล)

ผู้ลงทุนกับผู้ออม : ต่างกลุ่มกัน ครัวเรือนมี saving  เข้าธนาคาร ธุรกิจมี saving และอาจต้องการเงินทุนเพิ่มซึ่งได้มาจากการ กู้ยืมธนาคาร ในปัจจุบันการลงทุนในตลาดหุ้นเป็นแหล่งที่มาของเงินลงทุน สำคัญ การลงทุนที่วางแผน (planned I) ไม่จำเป็นต้องเท่ากับการ ออมที่วางแผน (planned S)

ตัวอย่าง (1) S = -40+0.25y (2) I = 10 (3) C = 40+0.75y AD = C + I

ตัวอย่าง AD ของ 2 สาขาเศรษฐกิจ Aggregate Demand (AD) ตัวอย่าง AD ของ 2 สาขาเศรษฐกิจ คนตั้งใจบริโภคเท่าไรขึ้นกับระดับรายได้ต่างๆ C = a + by สมมติว่าความตั้งใจลงทุนไม่ขึ้นกับระดับรายได้ของประเทศ I = Io Aggregate D. = C + I รายจ่ายรวม C + I = D C รายได้ รูปที่ 3 : อุปสงค์มวลรวม Aggregate D. = ความต้องการรวมของประเทศที่เป็นความต้องการของครัวเรือนที่จะใช้จ่าย และธุรกิจที่ต้องการจะลงทุน ที่รายได้รวมของประเทศในระดับต่างๆ กัน ขณะนี้เราสมมติให้มี 2 sectors

รายได้มวลรวม = ค่าใช้จ่ายรวมที่คาดหมาย รายได้มวลรวม = ค่าใช้จ่ายรวมที่คาดหมาย (Total Income = Expected Total spending) กล่าวแล้วว่า AD ขึ้นอยู่กับระดับรายได้ Qn : อะไรเป็นตัวกำหนดระดับรายได้ ? Ans: ระดับการใช้จ่ายที่คาดหมาย Income : (1) รายได้คือมูลค่าที่วัดได้ ณ ช่วงเวลาหนึ่ง (2) รายได้รวมมาจากผลบวกของรายจ่ายทั้งหมดที่เจ้าของปัจจัยการผลิตได้รับ ธุรกิจจะจ้าง/ซื้อปัจจัยเท่าไรขึ้นอยู่กับการคาดคะเน ว่าจะขายสินค้าได้เท่าไร นี่คือการจ้างงานที่ตามมา

รายได้มวลรวม = รายจ่ายที่คาดหมาย 1000 500 45o รายได้มวลรวม 500 1000 รูปที่ 4 รายได้มวลรวมกับรายจ่ายที่คาดหมาย  ธุรกิจจะซื้อและจ้างปริมาณปัจจัยการผลิตในปริมาณที่จะผลิตสินค้าให้ได้เท่ากับจำนวนที่คาดว่าผู้คนจะซื้อ

ตารางที่ 1 : รายได้มวลรวม การใช้จ่ายรวม การบริโภคแลการลงทุน (1) (2) (3) (4) Total Income Consumption Expenditure (C) Intended Investment (I) Total Demand (D) or Total Spending D = (2) + (3) $200 $300 + $300 = $600 400 400 + 300 = 700 600 500 + 300 = 800 800 600 + 300 = 900 1000 700 + 300 = 1000 1200 800 + 300 = 1100 1400 900 + 300 = 1200 1600 1000 + 300 = 1300 1800 1100 + 300 = 1400

การกำหนดดุลยภาพของระดับรายได้มวลรวม  ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงในระดับของปัจจัยทางเศรษฐกิจอื่นๆ เราสามารถกำหนดดุลยภาพในประเทศ (สมมติมี 2 ภาค) ซึ่งเป็นระดับรายได้ที่จะอยู่เช่นนี้จนกว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่ใน C หรือ I

ตารางที่ 2 :How the Economy’s Equilibrium Total Income Level is Determined (1) (2) (3) (4) (5) Expected Total Spending Total Income Total Spending or Total Demand (D) Change in Inventories Total Income Will Tend to $200 $200 $600 $-400 Rise 400 400 700 -300 Rise 600 600 800 -200 Rise 800 800 900 -100 Rise 1000 1000 1000 Equilibrium 1200 1200 1100 +100 Fall 1400 1400 1200 +200 Fall 1600 1600 1300 +300 Fall 1800 1800 1400 +400 fall

รูปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลัง  เมื่อ Aggregate Demand (AD) สูงกว่าระดับรายได้  สินค้าคงคลังจะลดลง  รายได้จะเพิ่มขึ้น b ค่าใช้จ่ายที่คาดหมาย D = C + I b a   a 45o รายได้มวลรวม y1 y2 y3 รูปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลัง a a = การลดลงของสินค้าคงคลังโดยไม่ตั้งใจเพราะธุรกิจประเมินระดับค่าใช้จ่ายและภาวะเศรษฐกิจต่ำเกินไป b b = การเพิ่มขึ้นของสินค้าคงคลังโดยไม่ตั้งใจ

Unintended inventory reduction

ระดับรายได้ดุลยภาพ  ระดับ ye คือ ดุลยภาพ ซึ่งจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงในสินค้าคงคลัง เพราะธุรกิจคาดการณ์เศรษฐกิจได้ถูกต้องและลงทุนในปริมาณที่ต้องการ ในที่นี้ Ye = Y2

ดุลยภาพกับการจ้างงานไม่เต็มที่ Qn : ในดุลยภาพนั้นจะมีการจ้างงานเต็มที่ ใช่หรือไม่ ? Ans : ไม่จริง คำอธิบาย รายได้หรือมูลค่าของสินค้าของประเทศ  Q x P ถ้าราคาไม่เปลี่ยนแปลงแล้วการเพิ่มของรายได้จะมาจาก Q เท่านั้น การที่ Q จะเพิ่มต้องใช้แรงงานเพิ่ม (ปัจจัยการผลิตอื่นด้วย) จ้างงานเพิ่ม รายได้เพิ่มขึ้น

จากรูปที่ 5 และตารางที่ 2 จะเห็นว่าที่ระดับรายได้ดุลยภาพอาจไม่ใช่ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ เช่น ถ้ามีประชากรมากและจะจ้างงานเต็มที่เมื่อ รายได้เท่ากับ y3 แต่ระดับ AD ที่ ye มีไม่พอที่จะจ้างงานได้เต็มที่ ยิ่งรายได้ดุลยภาพอยู่ที่รายได้ระดับต่ำ การว่างงานจะมีมากขึ้น

อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply)  อีกด้านหนึ่งของตลาดมีอุปทานมวลรวม ซึ่งแสดงถึงขีดจำกัดของปริมาณทรัพยากรของประเทศด้วย ซึ่งจะกำหนดขีดจำกัดของสินค้าที่ประเทศจะผลิตได้ (ในเชิงกายภาพ)  อุปทานแสดงให้เห็นข้อเท็จจริงที่ว่าจะมีช่วงการผลิตที่สมเหตุสมผลทางเศรษฐกิจอยู่ การใช้ทรัพยากรจึงต้องคำนึงถึงหลักข้อนี้

ตารางที่ 3 :ความสัมพันธ์ของ P,Q และอุปทานมวลรวม (1) (2) (3) General Price Level (P) Total Output Supplied (Q) (Billions of Units) Total Spending (p x Q) ($ Billions) P x Q = (1) x (2) a $10 20 $200 b 10 50 500 C 10 80 800 D 12 90 1,080 E 14 95 1,330 F 20 100 2,000 g 23 100 2,300

อุปทานมวลรวม รูป 6 (a) แสดงช่วง a-g เป็นเส้นอุปทานมวลรวม ณ ระดับราคาที่จุด d นั้น ธุรกิจเพิ่งยินดีที่จะผลิตและผลิตที่ระดับ 90 (พันล้าน) หรือ bn หน่วย ซึ่งปริมาณนี้ทำให้มูลค่าการใช้จ่าย (ในรูป 6 (b) เท่ากับ 1,080 (พันล้าน) บาท ประเทศจะผลิตได้ไม่เกิน 100 หน่วยเพราะมีทรัพยากรอยู่เพียงเท่านี้ รูปส่วน (a) แสดงเส้นอุปทานมวลรวมที่ใช้กันเป็นปกติ แต่รูปส่วน (b) ก็แสดงได้เช่นกัน และใช้มากใน Macro

ช่วงที่ไม่มีเงินเฟ้อ  ช่วงการผลิตที่ 80 หน่วยนั้น ค่าใช้จ่ายมี 800 (พันล้าน) บาท ระดับราคาอยู่ที่ 10 บาท ไม่มีเงินเฟ้อ เพราะประเทศมี excess capacity และ แรงงานที่ว่างงาน (มากพอที่จะผลิตได้อีก 100-80 = 20 หน่วย)  จากจุด a  b จะมีการว่างงานน้อยลงอีก การผลิตเพิ่มจากจุด b  c ก็จะไม่ทำให้ราคาสูงขึ้นและไม่มีเงินเฟ้อ

ช่วงที่มีเงินเฟ้อ ถ้าค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นไปถึงจุด d คือ 1,080 bn มาก การใช้ทรัพยากรจะเข้าใกล้ขีดจำกัดมากขึ้น ระดับราคาจะสูงขึ้น เพราะต้องแสวงหาทรัพยากร (ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์น้อยลง)ต้นทุนส่วนเพิ่มสูงขึ้น การเพิ่มของระดับราคาจาก 10  12 บาท สืบเนื่องจากค่าใช้จ่ายเพิ่มจาก 1,080 bn  1,330 bn. บาท แต่ผลผลิตเพิ่มเพียง 5 bn หน่วย (ราคาเพิ่ม 20% แต่ผลผลิตเพิ่ม 0.46%) สรุปว่าถ้ารายจ่ายเพิ่มขึ้น (ในรูป b) จากจุด c ถึง f ตามเส้น supply แล้วระดับราคาทั่วไปของภาคเศรษฐกิจจะเริ่มสูงขึ้น และราคาเพิ่มจะทวีมากขึ้นมากกว่าการเพิ่มของผลผลิต และประเทศประสบกับภาวะเงินเฟ้อรุนแรงขึ้น

เงินเฟ้อบริสุทธิ์ (pure inflation) เมื่อค่าใช้จ่ายถึง 2,000 (bn) หรือสูงกว่านี้ประเทศจะถึงสภาวะการจ้างงานเต็มที่ - กำลังการผลิตถูกใช้ทั้งหมด - ประเทศผลิตได้เต็มปริมาณในพิกัด (100 bn หน่วย) ถ้าค่าใช้จ่ายจะสูงกว่า 2000 bn ก็จะเกิดจากเงินเฟ้อเท่านั้น เพราะ Q ยังคงอยู่ที่ 100 bn หน่วย - ราคาเพิ่มจาก 2023 บาท โดยมูลค่าตัวเงินของค่าใช้จ่ายเพิ่มจาก 2000 2300 ไปตามแกนตั้งของเส้น S

ความสัมพันธ์ของราคา, real GNP และ money GNP real GNP คือ แกนนอนส่วน money GNP คือ แกนตั้งในรูป (b) ในรูป (a) ดัชนีราคาทั่วไปอยู่บนแกนตั้งและ real GNP คือแกนนอน จุดต่างๆ บนเส้น S จนถึงจุด c นั้น การเพิ่มของ money GNP เหมือนกับ real GNP เพราะ ระดับราคาทั่วไปคงที่ จากจุด c ถึง f, money GNP เพิ่มขึ้นเร็วกว่า real GNP เพราะระดับราคาสูงขึ้น พ้นจากจุด f ไป money GNP เพิ่มขึ้น แต่ real GNP อยู่คงที่

รูปที่ 7 The relationship between total demand and aggregate supply

ความสัมพันธ์ระหว่างอุปสงค์มวลรวมกับอุปทานมวลรวม รูปที่ 7(a) แสดงเส้น AD และ (b) แสดง AS โปรดสังเกตว่าแกนตั้งเหมือนกัน แต่แกนนอนต่างกัน ใน AS แสดงให้เห็นว่าธุรกิจตอบสนองต่อระดับราคา (ในแกนตั้ง) อย่างไร สมมติที่ดุลยภาพของรายได้ = 1,300 bn. นั้น Do ตัดกับเส้น 45o (รูป a) ที่ระดับค่าใช้จ่าย 1,300 bn. นี้ ระดับราคา = 13 บาท (รูป b)ซึ่งธุรกิจจะทำการผลิตที่ Qo = 100 bnหน่วย เพื่อตอบสนองต่อระดับค่าใช้จ่าย 1,300 bn. บาท

ความสัมพันธ์ระหว่างเงินเฟ้อกับการจ้างงาน สมมติว่าประเทศต้องผลิตที่ Q = 125 bn หน่วย เพื่อให้แรงงานถูกจ้างเต็มที่ เช่นเดียวกับปัจจัยการผลิตอื่นๆ การผลิตที่ Qf นี้โดยทั่วไปไม่ได้หมายความว่าไม่มีการว่างงาน แต่หมายความว่า การว่างงานลดตัวลงไปกว่านี้ไม่ได้แล้ว ถ้า AD เพิ่มขึ้น ก็จะผลักดันให้ระดับราคาสูงขึ้นเท่านั้นเองด้วยเหตุนี้เส้น S จึงตั้งฉากในช่วงนี้ คอขวดและครามไม่มีประสิทธิภาพทั้งหลายเป็นตัวผลักให้ต้นทุนสูงขึ้นก่อนที่ระบบเศรษฐกิจจะถึงการจ้างงานเต็มที่ ในรูป(b) บอกว่าระบบเศรษฐกิจมีปัญหาคอขวดและปัญหาประสิทธิภาพต่างๆเริ่มต้นที่จุด eo บนเส้น S