แนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ ในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น Guidelines for organizing learning areas for Students with Disabilities.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Penetration Testing – A Case Study of Khon Kaen University Networks
Advertisements

Workplace Name Student Name(s) Duration (ช่วงเวลาฝึกงาน)
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น Development of Customer Relationship Management System for Khon Kaen University นายจักรพงษ์
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda.
ระบบติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล จัดทำโดย นางสาวอนามิกา พิพัฒนมงคล
ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
หมวดกลุ่มด้อยโอกาส ต่างด้าวและอื่นๆ
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
คิดไว สรุปไว ด้วย MIND MAP ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาหลักสูตร
วิธีการขอ User เพื่อใช้งาน OTP
Innovation and Information Technology in Education
Market System Promotion & Development Devision
การประชุมวิชาการประจำปี ศสท
นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
Project Management Professional (PMP)
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
R & R Studio Program Installation.
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
Student activity To develop in to the world community
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
วิธีการคำนวณค่าระดับเสียงเฉลี่ย
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
แผนบริหารความเสี่ยง (องค์กร) ปี 2562 มทร.พระนคร
ต้นทุนต่อหน่วยรายหลักสูตร
6 ทศวรรษ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ*
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
ขอเชิญร่วมฟังบรรยายพิเศษ
ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร ในสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
รายงานการปฏิบัติงาน งานบริหารและธุรการ ฤ
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
การศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Healthcare Risk management System: HRMS [ on cloud ]
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
PULINET การศึกษาการใช้แอปพลิเคชันไลน์แอด เพื่อยกระดับคุณภาพบริการหอสมุดแห่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรวรรณ ดีวาจา พิษณุ ใจกล้า.
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ใบงานกลุ่มย่อย.
ขั้นตอนการทำเรื่องการเรียนรู้ร่วมการทำงาน (พ.ค. – ก.ย. 62 )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ ในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น Guidelines for organizing learning areas for Students with Disabilities in Central Library, Khon Kaen University นายประสิทธิ์ ประทุมรัตน์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ที่มาและความสำคัญ ประเทศไทยให้ความสำคัญคนพิการ (รัฐธรรมนูญ 2560, พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551, พรบ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ 2550) ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา มีหน้าที่สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนของนักศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัย, 2544) การจัดบริการห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาให้แก่นักศึกษาพิการในประเทศไทย ส่วนใหญ่จัดให้บริการตามที่จัดให้กับนักศึกษาปกติทั่วไป โดยไม่ได้คำนึงถึงความต้องการและความพกพร่องของนักศึกษาพิการ (สมาน ลอยฟ้า และคณะ, 2557) นักศึกษาพิการมีความจำเป็นต้องใช้พื้นที่เรียนรู้ เพื่อการศึกษาค้นคว้าเช่นเดียวกับนักศึกษาปกติเช่นกัน

ที่มาและความสำคัญ (ต่อ) สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น มุ่งมั่นสู่การเป็น KKU Library for All

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาประสบการณ์ และความต้องการในการใช้พื้นที่เรียนรู้ในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ของนักศึกษาพิการ เพื่อนำผลการศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน 1. ทบทวนวรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. ศึกษาประสบการณ์ และความต้องการของนักศึกษาพิการ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก 3. วิเคราะห์ข้อมูล และกำหนด "ร่างแนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษา พิการในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น" 4. จัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาผู้พิการ และให้นักศึกษาพิการมาทดลองใช้ บริการ รับฟังปัญหาและข้อเสนอแนะ 5. ยืนยัน "ร่างแนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น" โดยใช้วิธีการอ้างอิงจากผู้เชี่ยวชาญ และตัวแทน นักศึกษาพิการ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) 1. การทบทวนวรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวความคิดประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience: UX) ประสบการณ์ผู้ใช้ หมายถึง ทัศนคติ (Attitudes) และพฤติกรรม (Behavior) ของบุคคลที่มีต่อบริการ (Service) ประสบการณ์ผู้ใช้ มีความสำคัญต่อการออกแบบบริการ นำไปสู่การสร้างบริการที่สามารถส่งมอบประสบการณ์ใช้บริการ ที่ดีให้กับผู้ใช้ได้ ผู้ใช้เกิดความรู้สึกที่ดี (Feeling) มีความต้องการที่จะใช้ (Want) เป็นที่น่าจดจำและบอกต่อ (Rohrer, 2014)

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) 1. การทบทวนวรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวทางการพัฒนาการเข้าถึงห้องสมุดสำหรับคนพิการ ของ IFLA ประกอบด้วยแนวทางที่สำคัญ 4 ด้าน คือ 1) การเข้าถึงห้องสมุดทางกายภาพ 2) รูปแบบสื่อสำหรับคนพิการ 3) บริการห้องสมุดและการสื่อสารกับคนพิการ 4) การสร้างความร่วมมือกับคนพิการและองค์กรเพื่อคนพิการ (Irvall, B., & Nielsen, G. S., 2005)

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) 2. การศึกษาประสบการณ์ และความต้องการของนักศึกษาพิการ กลุ่มตัวอย่าง : นักศึกษาพิการ จำนวน 8 คน (พิการทางสายตา ทางการเคลื่อนไหว ทางการได้ยิน และออทิสติก) เครื่องมือ : แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล : การสัมภาษณ์เชิงลึก Access to Libraries for Persons with Disabilities: Checklist. IFLA Professional Reports (Irvall, B., & Nielsen, G. S., 2005)

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) 3. การวิเคราะห์ข้อมูล นำผลจากการศึกษาประสบการณ์นักศึกษาพิการ (UX) และความต้องการมาวิเคราะห์ กำหนดร่างแนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาผู้พิการในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตามแนวทางของ IFLA (Design) ที่จอดรถมอเตอร์ไซต์ รถเข็นคนพิการ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) 4. จัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Prototype) สถานที่ ชั้น 2 อาคารศูนย์สารสนเทศ (ใกล้ประตูทางเข้า-ออกห้องสมุด) เครื่องมือ/อุปกรณ์ เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมหูฟัง จำนวน 2 เครื่อง โต๊ะนั่งอ่านที่สอดรถเข็น Wheelchair เข้าได้ โต๊ะนั่งพักผ่อน สื่อสำหรับคนพิการ หนังสือเสียง และหนังสืออักษรเบรล์

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) ภาพการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ (Prototype)

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) เชิญชวนนักศึกษาพิการมาทดลองใช้พื้นที่เรียนรู้ และให้ข้อเสนอแนะ (User Testing)

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) 5. ยืนยัน ร่างแนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ ผู้เชี่ยวชาญ และตัวแทนนักศึกษาพิการ

ผลการศึกษา แนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น สถานที่ ควรอยู่ใกล้กับประตูทางเข้า-ออกห้องสมุด หรือบริเวณที่นักศึกษาพิการสามารถเดินทางเข้า-ออกได้ด้วยความสะดวกและปลอดภัย สามารถใช้เสียงได้ มีที่บังตา รวมถึงมีสิ่งอำนวยความสะดวก เครื่องมือ/อุปกรณ์ ห้องศึกษาแบบเดี่ยว ควรมีเครื่องคอมพิวเตอร์และชั้นวางหนังสือ และสามารถให้รถเข็นนั่ง (Wheelchair) เข้า-ออกได้สะดวก ห้องศึกษาแบบกลุ่ม ควรมีจอภาพติดผนังและสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ พื้นที่นั่งอ่านร่วมกับนักศึกษาปกติ ควรกระจายอยู่ทั่วอาคารห้องสมุด และมีโต๊ะนั่งอ่านที่สามารถสอดรถเข็นนั่ง (Wheelchair) เข้าไปได้ พื้นที่สำหรับชมวีดีทัศน์ ควรมีชุดเครื่องเสียงที่สามารถรับฟังภายในห้องได้ และมีหูฟังให้เลือกใช้ด้วย

อภิปลายผล/ข้อเสนอแนะ การจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ ควรเริ่มต้นจากการทำความเข้าใจความพิการ เข้าถึงนักศึกษาพิการ และจัดพื้นที่เรียนรู้ ตามศักยภาพของห้องสมุด นักศึกษาพิการ ยังรวมถึงนักศึกษาที่มีความพิการชั่วคราวและเกิดขึ้นภายหลัง นำแนวความคิดเรื่อง การจัดการเชิงระบบ (System management) มาใช้พัฒนาบริการ ห้องสมุด เพื่อให้นักศึกษาพิการเข้าถึงบริการห้องสมุดได้แบบเบ็ดเสร็จ

การนำไปใช้ประโยชน์ ใช้เป็นแนวทางในการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาผู้พิการ ในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทย สามารถนำไปประยุกต์ใช้ เป็นแนวทางในการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการได้

ผลจากการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ รับทราบถึงความตั้งใจของห้องสมุด มีการบอกต่อ และมาใช้บริการห้องสมุดเป็นประจำ จำนวนนักศึกษาพิการมาใช้บริการเพิ่มขึ้น มหาวิทยาลัยขอนแก่น นำเสนอข่าวในหน้าแรกของเว็บไซต์ ข่าวได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษ ถูกคัดเลือกเป็นข่าวเด่นประจำปี 2561

ผลจากการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ สื่อมวลชน สยามรัฐ เดลินิวส์ ข่าวสด กรุงเทพธุรกิจ ไทยนิวส์

Suggestions Comments? Thank you!