งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร ในสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร ในสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร ในสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ชนัญชิดา ม่วงทอง | พงศกร ศิริคำน้อย มหาวิทยาลัยนเรศวร

3 ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ทำไมต้องมี ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร

4 ทำไมต้องมี ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ทำไมต้องมี ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร สถานที่จัดเก็บแตกต่างกัน รายละเอียด วารสารในระบบ ไม่ชัดเจน ชื่อวารสาร มีการเปลี่ยนแปลง ผู้ใช้/ผู้ให้บริการ หาไม่พบที่ชั้น

5 ปรับปรุง/จัดการตัวเล่มวารสารให้เป็นระบบ เพื่อพัฒนาระบบค้นหาตำแหน่ง
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library วัตถุประสงค์ ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร ปรับปรุง/จัดการตัวเล่มวารสารให้เป็นระบบ ลดข้อผิดพลาดในการจัดวางบนชั้น บุคลากรปฏิบัติงานสะดวกและมีประสิทธิภาพ มากขึ้น เพื่อพัฒนาระบบค้นหาตำแหน่ง ที่อยู่ของวารสาร เป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาวารสารได้อย่างรวดเร็ว

6 งานเทคนิคตัวเล่มวารสาร
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ขั้นตอนการดำเนินงาน งานเทคนิคตัวเล่มวารสาร สำรวจ รายชื่อวารสาร 1 กำหนดเลข Cutter / ติดสัน 2 3 จัดเรียงวารสาร บนชั้น รวบรวมสถานที่จัดเก็บวารสาร 4 จัดส่งรายชื่อและสถานที่จัดเก็บให้ทีมพัฒนาระบบ สรุปความต้องการระบบ ออกแบบ ฐานข้อมูล นำเข้ารายชื่อ เปิดใช้งาน ทดสอบระบบ ขั้นตอนพัฒนาระบบ

7 ภาพ การจัดวาง ก-ฮ และ นำมา จัดการ จัดระบบ
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ภาพ การจัดวาง ก-ฮ และ นำมา จัดการ จัดระบบ

8 Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library
การให้เลขคัตเตอร์

9 Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library
การ Generator Barcode

10 งานเทคนิค การทำ ตัวเล่ม วารสาร นิตยสาร
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library งานเทคนิค การทำ ตัวเล่ม วารสาร นิตยสาร

11 จัดเรียง A-F 1 ตู้ มี 6 ล๊อก จาก บนลงล่าง 1 ล๊อก มี 5-6 ชั้น เรียงจาก
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library จัดเรียง A-F 1 ตู้ มี 6 ล๊อก จาก บนลงล่าง 1 ล๊อก มี 5-6 ชั้น เรียงจาก ซ้าย ไป ขวา

12 ภาพหลังทำงานเทคนิค และการจัดเรียงขึ้นชั้น
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ภาพหลังทำงานเทคนิค และการจัดเรียงขึ้นชั้น

13 3. ขั้นตอนการทำระบบค้นหาตำแหน่ง
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 3. ขั้นตอนการทำระบบค้นหาตำแหน่ง การพัฒนาระบบค้นหาตำแหน่งที่อยู่ของตัวเล่มวารสาร ซึ่งดำเนินการโดยนักคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการพัฒนาระบบตามขั้นตอน ดังนี้ Design ออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ และออกแบบฐานข้อมูล 3 Test ทดสอบระบบและนำข้อมูลมาปรับปรุงแก้ไข 5 5 User เลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้ระบบ 2 System พัฒนาระบบ โดยภาษาที่ใช้ในการพัฒนา  ได้แก่ HTML, PHP, Javascript และ SQLใช้ Mysql Database และโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ โปรแกรม Notepad++ โปรแกรม MySQL-Font , Frontend Framework Bootstrap, JavaScript  Framework AngularJS 4 total วิเคราะห์และสรุปความต้องการของผู้ใช้งานระบบ 1

14 5. ประเมินการทำงานและประเมินผลจากผู้ใช้บริการ 4. เปิดให้บริการ
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 5. ประเมินการทำงานและประเมินผลจากผู้ใช้บริการ 4. เปิดให้บริการ VS

15 1 2 ผลการดำเนินงาน หลังจากได้พัฒนาระบบค้นหาที่อยู่ของตัวเล่มแล้ว
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ผลการดำเนินงาน หลังจากได้พัฒนาระบบค้นหาที่อยู่ของตัวเล่มแล้ว ผู้ใช้บริการสามารถค้นตัวเล่มวารสารปรากฎตามภาพ ดังนี้ สืบค้นชื่อวารสารได้จาก WebOPAC   ที่ลิงก์ และระบบจะแสดงผล รายการบรรณานุกรมพร้อมแสดงลิงก์ คลิกหาที่อยู่ ของวารสารด้านล่าง 2 หน้าจอแสดงรายละเอียดทางบรรณานุกรมของ วารสาร พร้อมลิงก์ที่อยู่ของวารสาร เมื่อคลิกที่เมนู หาที่อยู่วารสาร ระบบจะแสดงรายการให้ค้นหา รายชื่อวารสารขึ้นมา

16 1 3 3. หน้าจอแสดงผล ระบบค้นหา และแหล่งที่อยู่ของ ตัวเล่มวารสาร
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 3 3. หน้าจอแสดงผล ระบบค้นหา และแหล่งที่อยู่ของ ตัวเล่มวารสาร

17 4. หน้าจอแสดงระบบ ส่วนของ User ด้วยอุปกรณ์พกพา อาทิ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library

18 5. หน้าจอแสดงระบบ ส่วนของ Admin
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 5. หน้าจอแสดงระบบ ส่วนของ Admin การเพิ่มข้อมูลวารสารลงระบบ

19 5. หน้าจอแสดงระบบ ส่วนของ Admin
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 5. หน้าจอแสดงระบบ ส่วนของ Admin การจัดเก็บสถิติการใช้วารสาร นิตยสาร การเรียกดูสถิติ รายงานโดยดึงข้อมูลได้ Export Excel

20 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5 4 3 2 1
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึง ได้ทั้งจากคอมพิวเตอร์พีซี และอุปกรณ์พกพา อาทิ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต 4 ไม่เสียเวลาในการช่วยผู้ใช้บริการค้นหาตัวเล่ม 3 ทำให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานได้สะดวก เป็นอย่างมาก 2 ลดปัญหาร้องเรียนเรื่องการหาตัวเล่มวารสาร ไม่พบ 1 ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้อย่างมาก

21 การนำไปใช้ประโยชน์ นำวิธีการมาใช้กับหนังสือ 4. พึงพอใจในการ
Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library การนำไปใช้ประโยชน์ นำวิธีการมาใช้กับหนังสือ 4. พึงพอใจในการ ใช้ระบบ 2. ประหยัดเวลา การค้นหาตัวเล่ม 3. แก้ปัญหา การจัดวาง การขึ้นชั้น

22 Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library
รายการอ้างอิง Cutter, Richard A. (1969). Cutter-Sanborn three figure author table. Englewood, Colo.: Distributed by Libraries Unlimited. หอสมุดแห่งชาติ. (2538). ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูป. กรุงเทพฯ: หอสมุด.

23 ขอขอบคุณ / ข้อคำถาม


ดาวน์โหลด ppt ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร ในสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google