ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax-W/T)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง
Advertisements

ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559.
ผังการบริหารจัดการน้ำ
- ค่าธรรมเนียมต่างจากภาษี
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
งบการเงินรวม 9/20/2018.
Cash Flow Case Study.
รศ.ชูศรี เที้ยศิริเพชร คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิธีปฏิบัติทางบัญชี 1. การรับบริจาคเงินสด
การโอนกลับรายการ Reversing Entries
Principles of Accounting I
บัญชีเบื้องต้น 1 (Basis Accounting I)
Principles of Accounting II
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
ภาษีเกี่ยวกับการค้าทองคำ
การฝึกอบรม MU – ERP ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ (AP: Accounts Payable) วันที่ 25 เมษายน 2011 – 3 พฤษภาคม 2011 โครงการจ้างที่ปรึกษา พัฒนาและติดตั้งระบบงาน ERP.
การออกแบบระบบงาน (Conceptual Design)
Receivables AR (ระบบบัญชีลูกหนี้)
ต่อมเอ๊ะ! กับ คำตอบสุดท้าย
E-Payment ภาครัฐ หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ ผ่านระบบ KTB Corporate Online เริ่มดำเนินการ 1 ตุลาคม.
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
Principles of Accounting II
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ประธานคณะทำงานเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค.
กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้ ประเภทที่ 2 กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้สำหรับการขายสด พนักงานก็จำทำการบันทึกข้อมูลการรับชำระเงินค่าสินค้า โดยในขั้นตอนนี้แบ่งออกได้
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
การประเมินส่วนราชการ
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
งานเงินสมทบ การตรวจสอบ และงานกฎหมาย
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Naksongkaew.
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
แนวทางเข้าสู่ตำแหน่ง ระดับเชี่ยวชาญ-ทรงคุณวุฒิ
จรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชีสหกรณ์.
ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
กิจกรรมที่ 1 ให้นักศึกษาทำภาระกิจตามสถานการณ์ปัญหาที่กำหนด ซึ่งมี 4 สถานการณ์ปัญหา โดยให้ศึกษา และค้นคว้าจาก Internet หรือห้องสมุด แล้วสรุปตามความคิดของตนเอง.
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
การจัดการเงินสด และหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด
บทที่ 4 หลักการบันทึกรายการทางบัญชี.
ขั้นตอนการเบิก-จ่ายเงินให้กับผู้รับจ้าง
บทที่ 2 การเริ่มต้นกิจการใหม่และการซื้อกิจการ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
นโยบายการคลัง รายวิชา : Week 06.
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
ตาม ม.40 แห่งประมวลรัษฎากร
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
ผังทางเดินเอกสาร – ระบบส่งคืนสินค้า
บทที่ 10 รายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่หวังผลกำไร
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
Principles of Accounting I
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผลงานจ้างเหมาซ่อมบำรุงรักษาทางรถไฟและอื่นๆ ประจำปี 2560
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
เงินสดและการควบคุมเงินสด
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
การจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์
ข้อสอบ O – NET : แสดงทรรศนะ โน้มน้าว โต้แย้ง อนุมาน (ปี ๖๑)
สรุปผลการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการการเงินการคลัง (CFO)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax-W/T) อาจารย์ประจำสาขาการบัญชี คณะบัญชี

หลักการที่สำคัญของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย “ เสียภาษีในขณะที่มีเงินได้” “Pay as You Earn” โดยใช้เกณฑ์เงินสด (Cash Basis)

ผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการ หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย 1.กรมสรรพากร ออกกฎหมายจัดเก็บภาษี และกำหนดบทลงโทษ 2.ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่ จ่าย นิติบุคลโดยทั่วไป เช่นบริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต่างๆ 3.ผู้ถูกหัก ภาษี ณ ที่จ่ายคือผู้มีเงินได้

หน้าที่และความรับผิดของผู้จ่ายเงินได้ 1. หักภาษี ณ ที่จ่าย 2. ออกหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย 3. นำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย

การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย 1.1 ใครเป็นผู้ที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายบ้าง? 1.2 เงินได้ที่ต้องหักภาษีมีอะไรบ้าง? 1.3 คำนวณหักภาษีอย่างไร?

ใครเป็นผู้ที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายบ้าง? ผู้ที่ได้รับเงินได้และไม่ได้รับยกเว้นภาษีโดยทั่วไปได้แก่ บุคคลธรรมดา บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญ คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล

เงินได้ที่ต้องหักภาษีมีอะไรบ้าง? เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1)-(8)

คำนวณหักภาษีหัก ณ ที่จ่ายอย่างไร 1.หักอัตราก้าวหน้าสำหรับเงินได้พึงประเมิน มาตรา 40(1)-40(3) เงินเดือนค่าแรง เงินได้จากตำแหน่ง งานที่ทำ ค่าลิขสิทธ์

คำนวณหักภาษีหัก ณ ที่จ่ายอย่างไร 2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส สำหรับเงินได้พึงประเมิน มาตรา 40 (4)-(8)

2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส ร้อยละ 1 ค่าขนส่ง ,ค่าประกันวินาศภัย

2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส ร้อยละ 2 ค่าโฆษณา

2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส ร้อยละ 3 ค่าจ้างทำของ ค่าบริการ วิชาชีพอิสระ

2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส ร้อยละ 5 ค่าเช่า รางวัลจากการประกวด

2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส ร้อยละ 10 เงินปันผล (ผู้มีเงินได้อาศัยอยู่ในประเทศ)

2. หักตามอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 3 เตรส ร้อยละ 15 ดอกเบี้ยจ่าย-บุคคลธรรมดา

3. หักอัตราร้อยละ 1 สำหรับผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต่างๆ (ไม่ว่าจะเป็นการขายสินค้าหรือให้บริการ)

การออกหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย 2.1 กรณีหักภาษี ณ ที่จ่าย ม. 40(1),(2) ออกหนังสือรับรองภาษี หัก ณ ที่จ่าย ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ของปีถัดไป 2.2 กรณีหักภาษี ณ ที่จ่าย 40(3)-40(8) ต้องออกหนังสือรับรองให้ทุกครั้งที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย 2.3 วันที่ระบุในหนังสือรับรอง คือวันที่รับเงินหรือวันที่ตามที่ระบุในเช็ค

แบบที่ใช้นำส่ง ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่หักไว้จะต้องนำส่ง กรมสรรพากร ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป กรณียื่นผ่านระบบ Internet ด้วยแบบนำส่งดังนี้ แบบ ภ.ง.ด. 1 สำหรับการหัก ภาษี ณ ที่จ่ายเงินได้ 40(1) และ(2)

แบบที่ใช้นำส่ง ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่หักไว้จะต้องนำส่ง กรมสรรพากร ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป ด้วยแบบนำส่งดังนี้ แบบ ภ.ง.ด. 2 สำหรับการหัก ภาษี ณ ที่จ่ายเงินได้ประเภท ดอกเบี้ย 40(3),(4)

แบบที่ใช้นำส่ง ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่หักไว้จะต้องนำส่ง กรมสรรพากร ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป ด้วยแบบนำส่งดังนี้ แบบ ภ.ง.ด. 3 สำหรับการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย 40(3) -40(8) ที่ผู้ถูกหักภาษีเป็นบุคคลธรรมดา

แบบที่ใช้นำส่ง ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่หักไว้จะต้องนำส่ง กรมสรรพากร ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป ด้วยแบบนำส่งดังนี้ แบบภ.ง.ด. 53 สำหรับการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย กรณีที่ผู้ถูกหักภาษีเป็นนิติบุคคล

บทลงโทษ กรณีที่ไม่ได้นำส่งภาษีหรือนำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายขาด ต้องเสียค่าปรับแบบ 200 บาท และเงินเพิ่มอีก ร้อยละ 1.5 ของภาษีที่ไม่ได้นำส่งหรือ นำส่งขาดต่อเดือนหรือเศษของเดือน

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย Dr ค่าใช้จ่าย …………… xx Cr เงินสด /ธนาคาร xx ภาษีหัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าย xx บันทึกจ่ายค่า…………….และหักภาษี ณ ที่ จ่าย Dr ภาษีหัก ณ ที่จ่าย xx Cr เงินสด/ธนาคาร xx บันทึกนำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายสำหรับเดือน ……….