งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙ ๑. ข้อความต่อไปนี้ควรเป็นส่วนใดของเรียงความ(ปี ๖๐) ประโยชน์จากแนวประการรังประการสุดท้าย ได้แก่ เป็นแหล่งทรัพยากรอาหารของมนุษย์ สิ่งมีชีวิตต่างๆ จำนวนมากใน แนวปะการังนั้นสามารถกินเป็นอาหารได้ เช่น ปลาชนิดต่าง ๆ ปลิงทะเล หอย กุ้ง และปลาหมึก ๑. การล่องเรือชมปลา ๒. สีสันที่สดใดของเกล็ดปลา ๓. ความน่าดูของขนหางของไก่ ๔. ความงดงามของปลาชนิดต่าง ๆ ๕. ลักษณะร่วมของปลากับเสียงและไก่ Dr. Bualak Petchngam

2 ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙ ๒. เรียงความเรื่อง “เสน่ห์ไทยในเวทีโลก” มีประเด็นการเขียนดังต่อไปนี้ (ปี ๖๐) ก. อาหารไทย ข. ศิลปะมวยไทย ค. การนวดแผนไทย ง. ผลิตภัณฑ์ผ้าไทย จ. มรดกวัฒนธรรมไทย ข้อใดเหมาะสมที่จะเป็นประเด็นสำคัญในการเขียนความนำ ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง ๕. ข้อ จ Dr. Bualak Petchngam

3 ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙ ๓. ข้อใดเป็นประเด็นที่ไม่จำเป็นสำหรับการเขียนเรียงความ เรื่อง “นักเรียนดี”(ปี ๕๙) ๑. มีจิตสาธารณะ ๒. รับผิดชอบต่อหน้าที่ ๓. ยึดมั่นในระเบียบวินัย ๔. แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ๕. ขยันหมั่นเพียรและใฝ่รู้ Dr. Bualak Petchngam

4 ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๔. ข้อความต่อไปนี้ควรเป็นส่วนใดของเรียงความ (ปี ๕๙) จากตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้นคงจะทำให้เห็นว่าสิ่งที่เราเคยเรียก อย่างรังเกียจว่าขยะ กลับมีบทบาทและมีคุณค่าเพิ่มขึ้นหลายมิติ อย่างไม่น่าเชื่อ ที่เป็นเช่นนี้ได้ล้วนเป็นผลมาจากการคิดค้น ประดิษฐ์สร้างสรรค์และร่วมแรงร่วมใจกันทำของคนในชุมชนทั้งสิ้น ๑. โครงเรื่อง ๒. ความนำ ๓. เนื้อเรื่อง ๔. ส่วนขยายเนื้อเรื่อง ๕. ความลงท้าย Dr. Bualak Petchngam

5 ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙ ๑. ข้อความต่อไปนี้ควรเป็นส่วนใดของเรียงความ(ปี ๖๐) ประโยชน์จากแนวประการรังประการสุดท้าย ได้แก่ เป็นแหล่ง ทรัพยากรอาหารของมนุษย์ สิ่งมีชีวิตต่างๆ จำนวนมากในแนวปะการังนั้น สามารถกินเป็นอาหารได้ เช่น ปลาชนิดต่าง ๆ ปลิงทะเล หอย กุ้ง และปลาหมึก ๑. การล่องเรือชมปลา ๒. สีสันที่สดใดของเกล็ดปลา ๓. ความน่าดูของขนหางของไก่ ๔. ความงดงามของปลาชนิดต่าง ๆ ๕. ลักษณะร่วมของปลากับเสียงและไก่ Dr. Bualak Petchngam

6 ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙ ๒. เรียงความเรื่อง “เสน่ห์ไทยในเวทีโลก” มีประเด็นการเขียนดังต่อไปนี้ (ปี ๖๐) ก. อาหารไทย ข. ศิลปะมวยไทย ค. การนวดแผนไทย ง. ผลิตภัณฑ์ผ้าไทย จ. มรดกวัฒนธรรมไทย ข้อใดเหมาะสมที่จะเป็นประเด็นสำคัญในการเขียนความนำ ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง ๕. ข้อ จ Dr. Bualak Petchngam

7 ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙ ๓. ข้อใดเป็นประเด็นที่ไม่จำเป็นสำหรับการเขียนเรียงความ เรื่อง “นักเรียนดี”(ปี ๕๙) ๑. มีจิตสาธารณะ ๒. รับผิดชอบต่อหน้าที่ ๓. ยึดมั่นในระเบียบวินัย ๔. แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ๕. ขยันหมั่นเพียรและใฝ่รู้ Dr. Bualak Petchngam

8 ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๔. ข้อความต่อไปนี้ควรเป็นส่วนใดของเรียงความ (ปี ๕๙) จากตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้นคงจะทำให้เห็นว่าสิ่งที่เราเคยเรียกอย่าง รังเกียจว่าขยะ กลับมีบทบาทและมีคุณค่าเพิ่มขึ้นหลายมิติอย่างไม่น่าเชื่อ ที่เป็นเช่นนี้ได้ล้วนเป็นผลมาจากการคิดค้น ประดิษฐ์สร้างสรรค์ และร่วมแรงร่วมใจกันทำของคนในชุมชนทั้งสิ้น ๑. โครงเรื่อง ๒. ความนำ ๓. เนื้อเรื่อง ๔. ส่วนขยายเนื้อเรื่อง ๕. ความลงท้าย Dr. Bualak Petchngam

9 ใช้ชีวิตเหมือนมันจะสิ้นสุดลงวันพรุ่งนี้,
Live like you will die tomorrow, learn like you will live forever. ใช้ชีวิตเหมือนมันจะสิ้นสุดลงวันพรุ่งนี้, เรียนรู้ให้เหมือนชีวิตจะไม่มีวันจบลง. SSRU.ac.th


ดาวน์โหลด ppt ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google