การหาคุณภาพของแบบทดสอบ โดย ดร.ผดุงชัย ภู่พัฒน์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
คุณสมบัติของแบบทดสอบที่ดี 1. ความเที่ยงตรงหรือความตรง (Validity) 2. ความเชื่อมั่นหรือความเที่ยง (Reliability) 3. ความเป็นปรนัย (Objectivity) 4. ความมีอำนาจจำแนก (Discrimination)
5. ความยากพอเหมาะ (Difficulty) 6. ความยุติธรรม (Fairness) 7. ความลึกซึ้ง (Searching) 8. ยั่วยุ (Exemplary) 9. มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบ การวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำ Test Blueprint เขียนข้อสอบ Logical Review หาคุณภาพก่อนใช้ ทดลองใช้แบบทดสอบ Empirical Review วิเคราะห์ผล Item & Test Analysis คัดเลือกข้อสอบเข้าคลังข้อสอบ
2. การหาความตรงเชิงเนื้อหา ความสอดคล้องระหว่าง ข้อสอบกับจุดประสงค์
วิธีการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา วิธีการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา ใช้ดุลยพินิจของผู้เชี่ยวชาญ(Judged by Specialist) การหาดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับ จุดประสงค์การเรียนรู้ สูตร IOC = SR N
ขั้นตอนการวิเคราะห์ 1. นำจุดประสงค์และข้อสอบที่วัด จุดประสงค์ข้อนั้นๆไปให้ ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา
+1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้ตรง ตามจุดประสงค์ 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้ตรง ตามจุดประสงค์ -1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้ไม่ตรง ตามจุดประสงค์
2. บันทึกผลการพิจารณาลงความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญแต่ละคน แต่ละข้อ * รวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมดเป็นรายข้อ (SR ) 3. แทนค่าลงในสูตร ได้ค่า IOC เป็นรายข้อ
4. แปลความหมายค่าดัชนี IOC IOC มากกว่าหรือเท่ากับ + 0.5 5. เลือกข้อสอบที่มีความตรงเชิงเนื้อหา
ระยะของ การพัฒนาข้อสอบ ระยะของ การพัฒนาข้อสอบ นำผลสอบของผู้เข้าสอบมาวิเคราะห์ เพื่อที่จะหาค่าดัชนี (Index) แสดง คุณภาพของข้อสอบว่าเหมาะสมเพียงใด
ความยาก (Difficulty) P ที่เหมาะสม 0.20 - 0.80 เป็นค่าแสดงร้อยละหรือสัดส่วนของผู้ที่ตอบข้อนั้นถูก เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์“P” P มีค่าตั้งแต่ 0 - 100 หรือ .00 - 1.00 P ที่เหมาะสม 0.20 - 0.80
สูตร . . . p = ค่าความยาก R= จำนวนคนที่ตอบถูก N = จำนวนคนทั้งหมด
ค่า p แปลความหมาย ตีความหมาย 1.00 ผู้สอบตอบถูก 100% เป็นข้อที่ง่ายมาก หรือทุกคนตอบถูกหมด 0 ผู้สอบตอบถูก 0% เป็นข้อที่ยากมาก หรือทุกคนตอบผิดหมด 0.5 ผู้สอบตอบถูก 50%หรือตอบ เป็นข้อที่ยากปานกลาง ถูกครึ่งหนึ่งตอบผิดครึ่งหนึ่ง หรือพอเหมาะ 0.80 ผู้สอบตอบถูก 80% เป็นข้อที่ค่อนข้างง่าย 0.20 ผู้สอบตอบถูก 20% เป็นข้อที่ค่อนข้างยาก ค่า p แปลความหมาย ตีความหมาย
ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination) ประสิทธิภาพในการจำแนกผู้ตอบเป็นกลุ่มสูงกับกลุ่มต่ำ เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ “ r ” r มีค่าตั้งแต่ ( 0 - 1.00 ) + - r ที่เหมาะสม r > 0.20
สูตร
r หมายถึง ค่าอำนาจจำแนก H หมายถึง จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มสูง L หมายถึง จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มต่ำ N หมายถึง จำนวนคนทั้งหมด
ค่า r แปลความหมาย ตีความหมาย + 1.00 กลุ่มสูงตอบถูกหมดและ จำแนกได้อย่างสมบูรณ์ กลุ่มต่ำตอบผิดหมด - 1.00 กลุ่มต่ำตอบถูกหมด จำแนกตรงกันข้ามได้ และกลุ่มสูงตอบผิดหมด อย่างสมบูรณ์ . 00 กลุ่มสูงและกลุ่มต่ำตอบ จำแนกไม่ได้ ถูกเท่ากัน . 50 กลุ่มสูงตอบถูกมากกว่า จำแนกได้ค่อนข้างสูง กลุ่มต่ำ . 20 กลุ่มสูงตอบถูกมากกว่า จำแนกพอใช้ได้ กลุ่มต่ำเล็กน้อย
การหาค่าความเที่ยง (Reliability) วิธีของคูเดอร์-ริชารด์สัน (Kuder - Richardson) KR - 20
ส ส สวัสดี วั วั ส ส ดี ดี