การสอบสวนโรค เฉพาะราย การสอบสวนโรค เฉพาะราย กรณีสอบสวนโรคมาลาเรีย โดย ประเสริฐ โนนแก้ว หน่วยควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงจังหวัดศรีสะเกษ
การสอบสวนโรค การสอบสวนโรค(Out Brake Investigation) กิจกรรมทางระบาดวิทยาที่ครอบคลุมบรรยายลักษณะ การเกิดโรค การประเมินปัจจัยเสี่ยง
การสอบสวนโรค ผลกระทบจากโรคหรือผู้เกี่ยวข้อง ดูจาก รายงานการเฝ้าระวัง ผลกระทบจากโรคหรือผู้เกี่ยวข้อง ความสามารถในการยืนยันว่าผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในระดับปกติ ขนาดความรุนแรงของโรค ข้อจำกัดทางเศรษฐกิจและสังคม
วัตถุประสงค์ของการสอบสวนโรค ประเมินขอบเขตของการเกิดโรค ผลกระทบจากการระบาดของโรค ดูการกักกัน การเคลื่อนย้าย การป้องกันของโรคในอนาคต เพื่อศึกษาโรคใหม่ที่ยังไม่มีการระบาด ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับงานทางด้านสาธารณสุข เช่นประสิทธิภาพ ของกมาตรการของการป้องกันโรค
องค์ประกอบของการสอบสวนโรค ปัญหา ยืนยันการระบาดของโรค ลักษณะการเกิดโรคทางระบาดวิทยา Pace time person การตั้งสมมุติฐาน เพื่ออธิบายแหล่งที่มาของโรค การติดต่อ การ ป้องกัน การทดสอบสมมุติฐาน เพื่อหาข้อสรุปการป้องกันการควบคุม และการควบคุม การสอบสวนและแนวทางการควบคุมโรค
ขั้นตอนการสอบสวนโรค การเตรียมลงพื้นที่ จะเตรียมอะไรบ้าง การเตรียมลงพื้นที่ จะเตรียมอะไรบ้าง การยืนยันการระบาดของโรคจะดูอะไรบ้าง เช่น รายงาน การ เปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงวินิจฉัย ความเห็นสา ธารณ การยืนยันการวินิจฉัย การกำหนดนิยามผู้ป่วยและการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมเช่น ผู้ป่วย รายแรก รายใหม่ การศึกษาทางระบาดเชิงพรรณนา ดู Pace Time Person ประวัติผู้ป่วย ข้อมูลประชากรเช่นเพศ อาชีพ อายุ เป็นต้น
ขั้นตอนการสอบสวนโรค(ต่อ) การศึกษาทางระบาดวิทยา ดู ลักษณะอาการป่วยทาง คลินิก ข้อมูลสัมผัสปัจจัยเสี่ยง ข้อมูลการรายงานโรค ข้อมูลประชากร การตั้งสมมุติฐาน ดู แหล่งแพร่เชื้อ ปัจจัยเสี่ยง(Risk factor) การแพร่เชื้อ(Tran smission) การทดสอบสมมุติฐาน ดู Case Control Cohort study Cohort study ดู การได้รับปัจจัยเสี่ยง และการ ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง
ขั้นตอนการสอบสวนโรค(ต่อ) ปรับปรุงสมมุติฐานและการศึกษาเพิ่มเติมตามความ จำเป็น วางมาตรฐานและการป้องกันและการควบคุมโรค เช่น การควบคุมแหล่งแพร่เชื้อ การขัดขวางห่วงโซ่ของการ ติดต่อ การสร้างภูมิต้านทานเช่นการใช้วัคซีน การใช้ สารเคมี การรายงานการสอบสวนโรค เพื่อเสนอต่อผู้บังคับบัญชา
นิยามผู้ป่วยมาลาเรีย ผู้ป่วยมาลาเรีย หมายถึง ผู้ซึ่งมีอาการหรือไม่แสดงอาการเป็นไข้แต่ได้รับ การตรวจเลือดและพบเชื้อมาลาเรียชนิดใดชนิด หนึ่งหรือหลายชนิด กล้องจุลทรรศน์ ชุดตรวจอย่างรวดเร็ว (Rapid Diagnostic Test หรือ RDT) วิธีทางชีวโมเลกุล เช่น PCR วิธีการตรวจทุก ชนิดต้องเป็นการตรวจหาแอนติเจนของเชื้อ มาลาเรียเท่านั้น ไม่รวมการตรวจหาแอนติ บอดี้
การตรวจวินิจฉัยและการควบคุมคุณภาพ การดำเนินการทางห้องปฏิบัติการตรวจ วินิจฉัยเชื้อมาลาเรีย เพื่อระบุว่าผู้ใดติด เชื้อมาลาเรีย การตรวจด้วย RDT จะต้องได้รับการ ยืนยันโดยการตรวจฟิล์มโลหิตด้วยกล้อง จุลทรรศน์ การควบคุมคุณภาพการตรวจวินิจฉัย ทางห้องปฏิบัติการ ให้ดำเนินการตามมาตรฐานของศูนย์ อ้างอิงทางห้องปฏิบัติการ
นิยามการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย (Malaria Elimination) การดำเนินการเพื่อ: หยุดการแพร่เชื้อมาลาเรียไม่ให้เกิดขึ้นใน ท้องที่ใดๆ มิได้หมายถึงไม่ให้มีผู้ป่วยมาลาเรียหรือต้อง ทำลายยุงพาหะนำเชื้อมาลาเรียให้หมดไป จากท้องที่นั้น แต่หากมีผู้ป่วยมาลาเรียเข้ามา (Imported case) จะต้องมีมาตรการที่ดีพอ เพื่อสามารถ ค้นหา สกัดกั้นต่อเนื่อง
การแบ่งพื้นที่ลักษณะการทำงาน
พื้นที่ A1 อำเภอกันทรลักษ์ หมู่ ๒ เสาธงชัย หมู่ ๔ รุง หมู่ ๗ ละลาย การแบ่งพื้นที่ปี 60 พื้นที่ A1 อำเภอกันทรลักษ์ หมู่ ๒ เสาธงชัย หมู่ ๔ รุง หมู่ ๗ ละลาย
การแบ่งพื้นที่(ต่อ) พื้นที่ A1 อำเภอขุนหาญ หมู่ ๒ กันทรอม หมู๋ ๔ ห้วยจันทร์ หมู่ ๑๕ บักดอง
การแบ่งพื้นที่(ต่อ) พิ้นที่ A 1 อำเภอ ภูสิงห์ หมู่ ๘ ไพรพัฒนา
การแบ่งพื้นที่ พื้นที่ A 2 อำเภอขุนหาญ หมู่ ๕ ห้วยจันทร์ ห้วยจันทร์ หมู่ ๕ ห้วยจันทร์ ห้วยจันทร์ หมู่ ๑๐ กันทรอม โนนทองหลาง หมู่ ๑๑ บักดอง บ้านภูดินพฒนา หมู่ ๑๓ บักดอง สัติสุข
การแบ่งพื้นที่(ต่อ) พื้นที่ A2 อำเภอภูสิงห์ หมู่ ๑ ดงรัก บ้านนาตราว หมู่ ๑ ดงรัก บ้านนาตราว หมู่ ๒ ดงรัก บ้านไร่พัฒนา หมู่ ๓ ดงรัก บ้านจำปานวง หมู่ ๔ ดงรัก บ้านคูสี่แจ หมู่ ๖ ดงรัก บ้านแซร์สโบว์ หมู่ ๘ ดงรัก บ้านสันติสุข
พื้นที่ A 2 อำเภอขุขันธ์ การแบ่งพื้นที่(ต่อ) พื้นที่ A 2 อำเภอขุขันธ์ ตำบล ปรือใหญ่ หมู่ 13
พื้นที่ B 1 อำเภอ กันทรลักษ์ การแบ่งพื้นที่(ต่อ) พื้นที่ B 1 อำเภอ กันทรลักษ์ ตำบล รุง หมู่ 3 5 7 8 ตำบล ชำ หมู่ 1 3 6 8 ตำบล ละลาย หมู่ 1 4 9 10 ตำบล เสาธงชัย หมู่ 1 5 11
ท้องที่ B1 อำเภอขุขันธ์ การแบ่งพื้นที่(ต่อ) ท้องที่ B1 อำเภอขุขันธ์ ตำบล ปรือใหญ่ หมู่ที่ 6
การแบ่งพื้นที่ (ต่อ) พื้นที่ B1อำเภอภูสิงห์ การแบ่งพื้นที่ (ต่อ) พื้นที่ B1อำเภอภูสิงห์ ตำบล ไพรพัฒนา หมู่ 1 3 5 7 9 ตำบล โคกตาล หมู่ 2 4 6 ตำบล ดงรัก หมู่ 5 7 ตำบล ห้วยติ๊กซุ หมู่ 9
พื้นที่ B 1 อำเภอ กันทรลักษ์ การแบ่งพื้นที่(ต่อ) พื้นที่ B 1 อำเภอ กันทรลักษ์ ตำบล รุง หมู่ 3 5 7 8 ตำบล ชำ หมู่ 1 3 6 8 ตำบล ละลาย หมู่ 1 4 9 10 ตำบล เสาธงชัย หมู่ 1 5 11
การแบ่งพื้นที่ พื้นที่ B1 อำเภอขุนหาญ ตำบล บักดอง หมู่ที่ 2 3 4 7 8 12 14 16 17 18 ตำบล โนนสูง หมู่ที่ 2 5 ตำบล ห้วยจันทร์ หมู่ที่ 1 2
การแบ่งพื้นที่ดำเนินงานระดับหมู่บ้าน-2559 พื้นที่แพร่เชื้อตลอดปี (A1) = 7 หมู่บ้าน หมู่บ้านมีผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่ตั้งแต่ 6 เดือนต่อปีขึ้น ไป พื้นที่แพร่เชื้อบางฤดูกาล (A2) = 20 หมู่บ้าน หมู่บ้านที่พบผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่บางเดือนรวมแล้ว น้อยกว่า 6 เดือนต่อปี พื้นที่ไม่มีการแพร่เชื้อ-พบยุงพาหะ(B1) หมู่บ้านไม่มีการติดเชื้อในพื้นที่อย่างน้อย 3 ปี และ สำรวจพบยุงพาหะหรือมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม พื้นที่ไม่มีการแพร่เชื้อไม่พบยุงพาหะ (B2) หมู่บ้านไม่มีการติดเชื้อในพื้นที่อย่างน้อย 3 ปี และไม่ พบยุงพาหะหรือไม่มีสภาพแวดล้อมเหมาะสม
สรุป ท้องที่ปฏิบัติงานไข้มาลาเรีย(A1,A2 ,) จังหวัดศรีสะเกษปี 60 โคกตาล กันทรอม ดงรัก ห้วยจันทร์
ชนิดการติดเชื้อ: Case classification Description A Indigenous in village = ติดเชื้อในหมู่บ้าน B Source of Infection Bx Outside village = ต่างหมู่บ้าน By Outside canton = ต่างตำบล Bz Outside district = ต่างอำเภอ Bo Outside province = ต่างจังหวัด Bf Outside country = ต่างประเทศ F Unclassified ติดเชื้อในประเทศไทย ติดเชื้อนอกประเทศไทย
การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายโรคไข้มาลาเรีย มาตรการ 1 3 7 คืออะไร
1 การลงรายงานระบบ online 3 การสอบสวนโรค 7 การตอบโต้ 1 3 7 ? 1 การลงรายงานระบบ online 3 การสอบสวนโรค 7 การตอบโต้
การใช้รายงานสอบสวนโรคไข้มาลาเรีย ใช้การสอบสวนเฉพาะโรค รายงานที่ รายงานการสอบสวนและรักษาหายขาดผู้ป่วย (รว ๓)
สรุปขั้นตอนการปฎิบัติงาน ในการสอบสวนโรค เตรียมตัวให้พร้อม น้อมรับเรื่องราว กรองข่าวให้ใส ไปที่เกิดเหตุ สังเกตว่าจริง สิ่งนั้นคืออะไร ใครคือผู้ป่วย หาด้วยรายแรก แบ่งแยกสัมพันธ์ ตั้งฐานสมมุติ พิสูตรโดยใช้ pace Time Person อย่าเนิ่นแนะนำ อาจทำให้เห็น เขียนเป็นรายงาน อ.นพ.ธวัช จายนียโยธิน
ขอได้รับความขอบคุณ สวัสดีครับ
วิธีสูบลมเครื่องพ่นเคมี สูบลมเข้าเครื่องความดันประมาณ ๔๐-๕๐ปอนด์/ ตาราง สูบลมประมาณ ๔๐-๕๐ ครั้ง สูบอีก ๒๕ ครั้งทุก ๒ นาที ขณะทำการพ่นต้องเขย่าถัง
วิธีการพ่นน้ำ ความดันที่เหมาะสมในเครื่องพ่น ๔๐ ปอนด์/ตารางนิ้วซึ่งสูบลมเข้าครั้งแรก๔๐-๕๐ ครั้งเมื่อพ่นไปแล้ว ๓ นาที จะต้องสูบลมเข้า อีก ๒๕ ครั้งและสูบต่อๆไปทุก นาที จนน้ำยา หมดถัง
รายละเอียดแฝงฝึกพ่น ขนาดของหัวพ่น ๘๐๐๒ หรือ๘๐๐๒ อี ขนาดติดฝาของสารเคมีชนิด เดลตาร์มิทริน ๐.๐๒ กรัม/ตารางเมตร แฝงฝึกพ่นสารเคมี ความสูง ๒๖๒.๕๐ ซม.กว้าง ๗๐๕ ซม. แบ่งเป็นช่องละ ๗๕ ซม.รวม ๑๐ ช่อง แต่ ละช่องทับกัน ๕ ซม.รวม ๙ ช่อง
รายละเอียดแฝงฝึกพ่น พื้นที่ ๑๙ ตารางเมตร สูง ๒๖๒.๕๐ ซม ใช้เวลาพ่น ๑ นาที
แผงฝึกพ่นน้ำ
ความเร็วในการพ่น การพ่นสารเคมีต้องรักษาความเร็วให้สม่ำเสมอ พยามพ่นให้ครอบคลุมพื้นที่ ๑๙ ตารางเมตร ภายใน ๑ นาที ระยะห่างหัวพ่นกับพื้นผิวที่จะต้องพ่น หัวพ่น ห่างจากฝาที่จะต้องพ่นประมาณ ๑๘ นิ้ว(๑ ศอก)
วิธีการผสมสารเคมีบรรจุในเครื่องพ่น เทน้ำใส่ถังสำหรับผสมน้ำยาเล็กน้อย ใช้ไม้กวนน้ำให้เข้ากันในถังผสมน้ำยาข้างนอก เติมน้ำที่เหลือผสมกัน แล้วกวนให้เข้ากันอีกครั้งจน ให้ได้ปริมาณ ๗.๕ ลิตร เทน้ำยาใส่เครื่องพ่นโดยผ่านกรวยกรอง
ระยะห่างหัวพ่นกับพื้นผิวที่พ่น หัวพ่นต้องห่างจากพื้นผิว ๔๕ ซม.(๑๘ นิ้ว) หรือ ๑ ศอก แถบน้ำยาที่พ่นกว้าง ๓๐ นิ้ว (๗๕ ซม.) แถบที่พ่นต้องทับกัน ๒ นิ้ว(๕ ซม.)
พื้นผิวที่จะต้องพ่นสารเคมี ใต้ถุนที่อยู่ภายในหลังคาและสูงพอที่คนพ่นเข้าไป ได้ ชายคาที่พ่นให้ทั่วและสูงที่สุด เครื่องใช้ในบ้าน เช่น หีบ ลังไม้ กระบุง
พื้นผิวที่จะต้องพ่นสารเคมี เครื่องเรือน เช่นเตียง แคร่นอน ตู้ โต๊ะ เก้าอี้ พ่นเฉพาะด้านล่างและด้านหลัง เครื่องประดับบ้าน เช่นกระจก กรอบรูป พ่น เฉพาะด้านหลัง
ระบบการพ่นสารเคมี พ่นบนบ้านหรือในบ้าน พ่นใต้ถุนบ้าน พ่นสิ่งที่แยกจากตัวบ้าน การพ่นในบ้านให้พ่นในห้องนอนก่อนเสร็จแล้วจึง พ่นครัว/ห้องน้ำ
หลังการพ่นสารเคมี อย่าเช็ด ล้าง พื้นบ้านหรือฝาบ้าน อย่าปิดกระดาษทับ อย่าเช็ด ล้าง พื้นบ้านหรือฝาบ้าน อย่าปิดกระดาษทับ หรือทาสีลงพื้นผิวที่พ่น อย่าพาดเสื้อผ้าหรือเครื่องนุ่งห่มบนราวที่พ่น ใช้ไม้กวาดหรือผ้าแห้งทำความสะอาดละอองผงก่อนจึง ใช้น้ำเปียก
หน้าที่ความรับผิดชอบของพนักงานพ่น เก็บสิ่งของเครื่องใช้ในบ้านก่อนทำการพ่นบ้าน/ กระท่อม ตรวจดูแลอุปกรณ์/สารเคมี ก่อน-หลัง การพ่น ปชช พ่นเคมีตามขั้นตอน การใช้สารเคมี มารยาท