งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการกำจัดโรคหัด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการกำจัดโรคหัด."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการกำจัดโรคหัด

2 กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานกำจัดโรคหัด
อุบัติการณ์ผู้ป่วยยืนยันโรคหัดไม่เกิน 5 ต่อประชากรล้านคนทุกกลุ่มอายุในปี 2015 และไม่เกิน 1 ต่อประชากรล้านคนทุกกลุ่มอายุในปี 2020 (ไม่นับผู้ป่วยนำเข้าจากต่างประเทศ) ผู้ป่วยยืนยันโรคหัดไม่เกิน 10 รายต่อหนึ่งเหตุการณ์การระบาด ในอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาดทั้งหมด ไม่มีผู้ป่วยยืนยันโรคหัดที่ติดเชื้อไวรัสโรคหัดสายพันธุ์ภายในประเทศ เป็นระยะติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 12 เดือน

3 กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานกำจัดโรคหัด
ความครอบคลุมของวัคซีนโรคหัดเข็มที่ 1 และเข็มที่ 2 ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ทั้งในระดับตำบลและระดับประเทศ หมายเหตุ : ตัวชี้วัดทั้งหมดต้องดำเนินการภายใต้ระบบเฝ้า ระวังที่มีประสิทธิภาพ

4 ระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพของโรคหัด
อัตราการรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนในประชากรทุกกลุ่มอายุแสนคนต่อปี เก็บตัวอย่างซีรั่มเพื่อส่งตรวจ Measles IgM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง(ไม่นับผู้ป่วยสงสัยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาด)

5 ระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพของโรคหัด
มีการเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสโรคหัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด มีการสอบสวนโรคเฉพาะรายของผู้ป่วยสงสัยโรคหัดภายใน 48 ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วย

6

7

8

9

10

11 เป้าหมายของโครงการกวาดล้างโปลิโอและกำจัดโรคหัด
AFP มากกว่าเป้า 2/100,000 )ประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปี Fever with rash มากกว่าเป้า 2/100,000 ประชากรทุกกลุ่มอายุ คนไข้ Fever with rash ตรวจหาการติดเชื้อมากกว่า 80%

12 การเฝ้าระวังโรคหัด ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การเฝ้าระวัง(Surveillance case) หมายถึง ผู้ป่วยไข้ออกผื่น ผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมันทั้งหมดที่ถูกรายงานเข้าโครงการกำจัดโรคหัด เป็นค่าเริ่มต้น(default) ก่อนจะพิจารณาเกณฑ์ทางคลินิกและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

13 การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังตามโครงการกำจัดโรคหัด
ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยไข้ออกผื่น หรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัดหรือหัดเยอรมัน พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัยทุกราย

14 นิยามผู้ป่วยสำหรับการเฝ้าระวัง
ผู้ป่วยไข้ออกผื่น หมายถึง ผู้ป่วยที่มีไข้ร่วมกับผื่นนูนแดง(Maculopapular rash) ซึ่งรวมถึงโรค Reseola infantum(B08.2) โรค Erythema infectiotum(B08.3) รวมทั้งโรคไข้ออกผื่นอื่นๆ ในกลุ่มการติดเชื้อไวรัสอื่นๆ ที่ไม่ทราบแน่ชัด(B09)

15

16 เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ
นิยามผู้ป่วย เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ Serology test : Measles IgM ให้ผลบวก Genotyping : การตรวจหาสารพันธุกรรมและวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสโดยการทำ PCR และ sequencing จาก Throat swab หรือ Nasal swab

17 ประเภทผู้ป่วย(Measles classification)
ผู้ป่วยสงสัย(Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก แต่ไม่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผู้ป่วยเข้าข่าย(Probable case) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางด้านระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยที่ยืนยันผล

18 ประเภทผู้ป่วย(Measles classification)
ผู้ป่วยยืนยัน(Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และมีผลบวกตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการอย่างน้อย 1 ข้อ ผู้ป่วยที่ไม่ใช่โรคหัด(Non-measles case) หมายถึงผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การเฝ้าระวัง มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเป็นลบ และไม่มีความเชื่อมโยงทางด้านระบาดวิทยากับผู้ป่วยยืนยัน

19 นิยามการระบาดผู้ป่วยสงสัยโรคหัด
นิยามการระบาดของโรคตามโครงการกำจัดโรคหัดที่ใช้ในประเทศไทย คือ การพบผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมันอย่างน้อย 2 ราย ภายใน 14 วัน ในหมู่บ้าน ชุมชน หรือ สถานที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น เช่น โรงงาน โรงเรียน สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก และ อื่นๆ เดียวกัน

20 อัตราป่วยต่อแสนของผู้ป่วยโรคหัดทุกกลุ่มอายุ , ประเทศไทย , พ. ศ
อัตราป่วยต่อแสนของผู้ป่วยโรคหัดทุกกลุ่มอายุ , ประเทศไทย , พ.ศ พ.ศ. อัตราป่วย 2555 8.10 2556 4.12 2557 1.85

21 เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยโรคหัดในฐานข้อมูล506และฐานข้อมูลME , ประเทศไทย , 2555-2557
จำนวนผู้ป่วยโรคหัดในฐานข้อมูล 506 จำนวนผู้ป่วยโรคหัดในฐานข้อมูล ME ร้อยละ 2555 5207 2934 37.14 2556 2643 1072 43.52 2557 1167 395 33.85

22 ร้อยละของผู้ป่วยยืนยันโรคหัด , ประเทศไทย , 2555-2557
จำนวนส่งตรวจตัวอย่าง จำนวนตัวอย่างที่ให้ ผลบวก ร้อยละ 2555 1934 976 50.47 2556 986 353 35.80 2557 395 74 18.73

23 สาเหตุที่โรงพยาบาลไม่ส่งตัวอย่างยืนยันโรคหัด
แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา รพ. ไม่ทราบว่ามีผู้ป่วยโครงการกำจัดโรคหัด 9 7 3 ผู้ป่วยไม่อยู่ในเงื่อนไขเวลาของการเก็บตัวอย่าง 1 ผู้ป่วยไม่มาตามนัด ไม่ได้นัดผู้ป่วย 6 ไม่มีพาหนะมาส่งตัวอย่างที่ห้อง LAB จำนวนผู้ให้ข้อมูล 10

24 ใครควรเป็นผู้ที่มาปิด gap ของ communication
เครือข่าย ส่วนกลาง สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล

25 เป้าหมายของส่วนกลางในโครงการกำจัดโรคหัด
AFP มากกว่าเป้า 2/100,000 )ประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปีในภาพของประเทศ Fever with rash มากกว่าเป้า 2/100,000 ประชากรทุกกลุ่มอายุ ในภาพของประเทศ คนไข้ Fever with rash ตรวจหาการติดเชื้อมากกว่า 80% ในภาพของประเทศ

26 บทบาทของส่วนกลางในโครงการกำจัดโรคหัด
สนับสนุนทางด้านวิชาการและการประสานงานให้กับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

27 เป้าหมายของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคในโครงการกำจัดโรคหัด
AFP มากกว่าเป้า 2/100,000 )ประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปีในภาพของเขต Fever with rash มากกว่าเป้า 2/100,000 ประชากรทุกกลุ่มอายุ ในภาพของเขต คนไข้ Fever with rash ตรวจหาการติดเชื้อมากกว่า 80% ในภาพของเขต

28 บทบาทของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคในโครงการกำจัดโรคหัด
ให้ ผอ.สคร. เกิดความตระหนักว่างานตามโครงการกำจัดโรคหัดเป็นงานของกรมฯ ที่ต้องดำเนินการ มีระบบติดตามจาก สคร. ในการติดตามการรับส่งหนังสือราชการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

29 บทบาทของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคในโครงการกำจัดโรคหัด
สคร. Monitor เป้าหมายในภาพของเขต กรณีที่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย ให้มีกิจกรรมลงไปกระตุ้น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และโรงพยาบาล เช่น การลงไปประเมินระบบเฝ้าระวัง การจัดประชุมราชการเพื่อชี้แจง การขอความร่วมมือจากเขตสุขภาพให้ช่วยกระตุ้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

30 เป้าหมายของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในโครงการกำจัดโรคหัด
AFP มากกว่าเป้า 2/100,000 ประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปีในภาพของจังหวัด Fever with rash มากกว่าเป้า 2/100,000 ประชากรทุกกลุ่มอายุ ในภาพของจังหวัด คนไข้ Fever with rash ตรวจหาการติดเชื้อมากกว่า 80% ในภาพของจังหวัด

31 บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในโครงการกำจัดโรคหัด
ให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเกิดความตระหนักว่างานตามโครงการกำจัดโรคหัดเป็นงานของกระทรวงสาธารณสุข ที่ต้องดำเนินการ เมื่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้รับหนังสือจากกระทรวงสาธารณสุขให้ดำเนินงานตามโครงการกำจัดโรคหัด ให้ทำหนังสือแจ้งต่อไปยัง รพ. ในเครือข่ายได้รับทราบ

32 บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในโครงการกำจัดโรคหัด
ให้มีระบบติดตามหนังสือที่แจ้งจาก สสจ. ไป รพ. เพื่อให้มั่นใจว่า บุคคลที่เกี่ยวข้อง เช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาโรงพยาบาลได้รับทราบเรื่อง โครงการกำจัดโรคหัด

33 บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในโครงการกำจัดโรคหัด
กรณีที่ยังไม่บรรลุเป้าหมายของจังหวัด ให้กระตุ้นโรงพยาบาลเป็นระยะเพื่อให้เกิดการดำเนินงานของ รพ.อย่างต่อเนื่อง ตามโครงการกำจัดโรคหัด เช่น การประเมินระบบเฝ้าระวัง การจัดประชุมชี้แจงเป็นระยะ การไปนิเทศงานเป็นระยะ

34 บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด
บทบาทของแพทย์ รายงานผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมันไปที่งานระบาดวิทยาของโรงพยาบาลทุกราย สั่งเก็บตัวอย่างซีรั่มผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมัน(Single case)ทุกรายส่งตรวจที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย

35 บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด
บทบาทของแพทย์ ในกรณีที่มีการระบาดของผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมัน เก็บตัวอย่างซีรั่มประมาณ ตัวอย่างในช่วงเวลา 4-30 วันหลังพบผื่นเพื่อหา Measles_IgM เก็บตัวอย่าง Throat/Nasal swab ภายในเวลาไม่เกิน 5 วัน หลังพบผื่น ประมาณไม่เกิน 5 ตัวอย่าง

36 บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด
บทบาทของแพทย์ การเก็บตัวอย่างซีรั่มในกรณีที่ผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมันเป็นผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยมาโรงพยาบาลเร็ว เก็บตัวอย่างซีรั่มทันที ถ้าผล LAB negative นัดผู้ป่วยมาเก็บตัวอย่างอีกครั้ง ให้ผู้ป่วยกลับบ้านไปก่อน และนัดผู้ป่วยมาเจาะเลือดอีกครั้งในเงื่อนไขเวลาที่เหมาะสม

37 บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด
บทบาทของพยาบาล คัดกรองผู้ป่วยไข้ออกผื่น และแจ้งเตือนให้แพทย์ทราบถึงการวินิจฉัยและเก็บตัวอย่างซีรั่มผู้ป่วยในโครงการกำจัดโรคหัด

38 บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด
บทบาทของเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา เมื่อได้รับแจ้งผู้ป่วยสงสัยโรคหัดจากแพทย์หรือพยาบาลให้ key ข้อมูลลงในฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด บน web-site ของสำนักระบาดวิทยา ทบทวนข้อมูลผู้ป่วยสงสัยโรคหัดในฐานข้อมูล 506 เพื่อตรวจสอบการเก็บตัวอย่างซีรั่มส่งตรวจของผู้ป่วยแต่ละราย

39 บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด
บทบาทของเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา ให้มีระบบติดตามการเก็บตัวอย่างซีรั่มในพื้นที่ ในกรณีที่ยังไม่มีการเก็บตัวอย่างในผู้ป่วยสงสัยโรคหัดที่รายงานเข้าระบบรายงาน 506


ดาวน์โหลด ppt โครงการกำจัดโรคหัด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google