งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
โดย...นพ.พนิต โล่เสถียรกิจ ศูนย์อนามัยที่ 6

2 Longitudinal Descriptive Study
ข้อดี ลำดับเหตุการณ์ได้ >> รู้ Risk Factor ผลของ Intervention รู้/วัดตัวกวน ล่วงหน้าได้ Incident Rate ผลน่าเชื่อถือ เริ่มต้น สิ้นสุด Cohort Study : ข้อเสีย ไม่เหมาะ Rare case อาจไม่เป็นตัวแทนประชากร Loss Case ใช้คน เงิน ของ  >>รวบรวม ติดตาม ต้องระวัง >>วิเคราะห์หลายเรื่อง ใช้เวลานาน confounding Factorเพิ่มขึ้น >> ประโยชน์จะน้อยลง เหตุ ผล

3 โครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทย(PCTC)
Longitudinal prospective cohort Descriptive + Analytic >> ยังไม่ทำนายปรากฏการณ์ ไม่มีการสุ่ม probability sampling ระยะเวลาที่เริ่มของเด็กแต่ละคนไม่ เท่ากัน loss case และมี missing data มาก วิเคราะห์ ยุ่งยากซับซ้อน ต้องใช้ทรัพยากร คน เงิน เวลา มาก เป็น Longitudinal prospective cohort (cohort population - base multilevel study) Descriptive + Analytic : เป็นการค้นหาลักษณะ อธิบายและหาความสัมพันธ์ของปรากฎการณ์ ยังไม่สามารถทำนายปรากฏการณ์ การเลือกกลุ่มตัวอย่าง สุ่มให้กระจายเพียงพอที่จะเป็นตัวอย่างของประเทศ (ความหลากหลายของพื้นที่) ไม่มีการสุ่มที่เป้น probability sampling เก็บข้อมูลหลายครั้งในกลุ่มเดิม เก็บต่อเนื่องหลายปี ระยะห่างระหว่างตัวแปรมีตั้งแต่ 7 วัน ถึงหลายปี ระยะเวลาที่เริ่มของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน ข้อมูลขาดหายเป็นจำนวนมาก การมี missing ของข้อมูลมาก >> การ Explore ผลของ missing Value การเก็บข้อมุลจากหลายระดับ ต้องวิเคราะห์แบบ Multilevel model การวิเคราะห์ต้องคำนึงถึงเงื่อนเวลา Time series analysis ต้องใช้ทรัพยากร คน เงิน เวลา มาก บัณฑิต ถิ่นคำรพ ชัยชนะ นิ่มนวลและลัดดา เหมาะสุวรรณ จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ :บรรณาธิกรณ์

4 Policies กรมอนามัย “ฝากท้องไว คลอดปลอดภัย
ส่วนกลาง พัฒนานดยบาย กำกับ ติด ตาม ประเมินผล ส่วนภูมิภาค(เขตสุขภาพ) บริหารจัดการหน่วยบริการและขับเคลื่อนนโยบาย สุ่การปฏิบัติ กรมอนามัย Clusters สตรีและ เด็กปฐมวัย “ฝากท้องไว คลอดปลอดภัย เด็กเติบโตสมส่วน ฉลาดว่องไว อารมณ์ดี มีความสุข” การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ทางวิชาการกรมอนามัย พัฒนาการเด็กสมวัย เติบโดสมส่วน Core Business (Funtion,Agenda,Area) Production Sales & Service Evidance base : research Policies Purchaser Provider Regulator function in Global,National & Region สป.สธ. เขตสุขภาพ (Provider, Purchaser, อปท. ภาคประชาชน)และหน่วยงานอื่นๆ 1. Data/ Information/ Knowledge Pool /Asset 2. R&D 3. Analysis/ Synthesis 4. M&E 5. Collaboration 6. Buiding Capacity 7. Surveillance 8. Global/International Policy etc. 1.Policy 2.Strategy 3.Law 4.Standard 5.guideline 6.Benefit Package 7. etc.  œADVOCACY - Analysis - Strategy - Mobilization - Action - Evaluation  œMEDIATION  Etc. พัฒนาการเด็กสมวัย % HDC 98 % Pre term % LBW % HDC 9 % ผอม+ค่อนข้างผอม % เตี้ย +ค่อนข้างเตี้ย % แม่ใช้สมุดชมพู % และใช้ดูแลเด็ก % แม่เข้ารร.พ่อ แม่ % แม่กินไอโอดีนทุกวัน % HDC % นมแม่ 6+ ด % HDC % กินยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก % ศศิวรา2 16.3 เล่นโดยใช้สื่อเล็กทรอนิคส์ 1 3-5 ปี= 93.4 %, 0-2 ปี= 78 % เล่นคุณภาพ % เล่าคุณภาพ % Intervention /มาตรการไม่ถูกใช้ ข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย ศูนย์เขต/สถาบัน Production Unit Core Product Dealer stakeholder Customer/Consumer 1. Information/ Knowledge Pool / Asset 2. Surveillance 3. M&E 4. R&D 5. etc. 1.Tool 2.Technology 3.Intervention/ Model 4.Innovation 5.Knowledge 6..Surveillance (Information for Action) 7.etc. 1.Regional Lead Function 2.Sales & Service 3.Techinical Support 4.Service for Model development - Hospital Base - Community Base วิจัยเชิงนโยบาย - Qualitative study - การบริหารจัดการ ->> six building blocks พัฒนาการเด็ก การเจริญเติบโต 1 สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย (2557) , 2 ศศิวรา บุญรัศมี (2557), HDC 2558

5  ให้ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ อันเป็นประโยชน์ต่อ
การวิจัยเชิงนโยบาย กระบวนการศึกษารวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลและข้อเสนอแนะต่างๆ ตลอดจนแนวทางปฏิบัติที่อาจเป็นไปได้ ใน การแก้ปัญหาหรือพัฒนาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งในระดับนโยบาย ที่ ผู้วิจัยจะสื่อสารแก่บุคลากรที่ทำหน้าที่ในก่ารตัดสินใจ(Decision- makers)เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนหรือปรับปรุงแก้ไขนโยบาย กลยุทธ์ หรือโครงการต่างๆต่อไป (Dukeshire and Thurlow,2002:3-4) บทบาทหลัก 1)วิเคราะห์ตัวนโยบาย 2)วิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามนโยบาย /สถานการณ์ 3)วิจัยเพื่อพัฒนานโยบาย  ให้ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ อันเป็นประโยชน์ต่อ การปฏิบัติแก่ผู้ใช้ผลการวิจัย เพื่อใช้ในการตัดสินใจ >> ผลักดัน ขับเคลื่อนนโยบาย ปรับปรุงหรือล้มเลิกเสีย สิ่งสำคัญ วิจัยเชิงนโยบาย

6

7

8

9

10 วัตถุประสงค์การวิจัย
สถานการณ์การเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยไทย ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยไทย ปัญหาของการส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยไทยในหน่วยบริการ และครอบครัว กำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายในการขับเคลื่อนการส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก

11 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย
ความสูงพ่อ/แม่ การศึกษาพ่อ/แม่ คุณลักษณะพ่อ/แม่ กินนมแม่** การนอนหลับ** การออกกำลังกาย** กินอาหารตามวัย** การเลี้ยงดู** พฤติกรรมส่งเสริมการเจริญเติบโต รายได้ครอบครัว อายุ ภาวะเครียด ภาวะซีด สูบบุหรี่ นน.ที่เพิ่ม สถานการณ์แม่ระหว่างตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ อายุครรภ์เมื่อคลอด นน.แรกคลอด ความยาวแรกคลอด ภาวะซีด** สถานการณ์เด็ก หลังคลอด GROWTH ประเมินภาวะเสี่ยง* โภชนาการในแม่* รร.พ่อ/แม่* ยาเสริมธาตุเหล็ก* เฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการ* ANC Quality WCC Quality ศูนย์เด็กเล็ก

12 กรอบการดำเนินงาน วิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 2560 – 2561 2562 2563 2564 – 2565 สำรวจสถานการณ์ 1.การเจริญเติบโต 2.ปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต -พฤติกรรม (กิน/นอน/ออกกำลังกาย/สุขอนามัย(การเจ็บป่วย) - การเลี้ยงดูเด็ก (เวลา/วิธีการ/รูปแบบ) 3. ปัญหาของการใช้ Tool ของกรมอนามัย (สมุดสีชมพู / การจ่ายยาน้ำ เสริมธาตุเหล็ก/รร.พ่อแม่) พื้นที่เป้าหมาย 13 เขตสุขภาพ (ตัวแทนประเทศ) -Intervention : Package (package ใหม่ที่ปรับปรุงจาก gap ในระยะที่ 1) พื้นที่ดำเนินการ ทั้งประเทศ -วิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อประเมิน package พื้นที่เฉพาะใน 13 เขต (package ใหม่ที่ปรับปรุงจาก gap ในระยะที่ 2) - การเจริญเติบโต - นน.แรกเกิด - การเลี้ยงดูเด็ก (เวลา/วิธีการ) Output -สถานการณ์การเติบโตของเด็ก -ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย -ปัญหา/สาเหตุ ของการใช้ Tool - ข้อเสนอเชิงนโยบาย

13 วิจัยเชิงคุณภาพ (หาปัญหาจากการใช้ Tool)
ขนาดตัวอย่าง วิจัยเชิงปริมาณ คน /เขตสุขภาพ 13 เขตสุขภาพ = 10,400 คน กลุ่มเป้าหมาย ; เด็กปฐมวัย /ผู้ดูแล วิจัยเชิงคุณภาพ (หาปัญหาจากการใช้ Tool) พื้นที่เป้าหมาย (เขตสุขภาพละ 40 ตำบล) - รพช.ทุกแห่ง ในจังหวัดตัวอย่าง - รพ.สต. ที่เป็นตัวอย่าง

14 งบประมาณ ทั้งสิ้น 15,000,000 บาท กิจกรรม งบประมาณ (บาท)
งบประมาณ ทั้งสิ้น 15,000,000 บาท กิจกรรม งบประมาณ (บาท) ระยะที่ 1 ( ) 6,300,000 จัดประชุมทีมวิจัย พัฒนาโครงร่างการวิจัย / เครื่องมือ 200,000 จัดประชุมแจ้งพื้นที่ตัวอย่าง 500,000 เก็บ & key ข้อมูล 5,000,000 ประชุมทีมงานวิเคราะห์ข้อมูล ครั้งที่ 1 300,000 ประชุมทีมวิจัย สรุปผลการวิจัยระดับประเทศ ระยะที่ 2 (2562) 1,200,000 ประชุมทีมวิจัยพัฒนาเครื่องมือ 250,000 เก็บข้อมูล 600,000 ประชุมทีมวิจัย วิเคราะห์ & สรุปผลการวิจัย 350,000

15 กิจกรรม งบประมาณ (บาท) ระยะที่ 3 (2563) 1,200,000 ประชุมทีมวิจัยพัฒนาเครื่องมือ 250,000 เก็บข้อมูล 600,000 ประชุมทีมวิจัย วิเคราะห์ & สรุปผลการวิจัย 350,000 ระยะที่ 4 ( ) 6,300,000 จัดประชุมทีมวิจัย พัฒนาเครื่องมือ 200,000 จัดประชุมแจ้งพื้นที่ตัวอย่าง 500,000 เก็บ & key ข้อมูล 5,000,000 ประชุมทีมงานวิเคราะห์ข้อมูล ครั้งที่ 1 300,000 ประชุมทีมวิจัย สรุปผลการวิจัยระดับประเทศ

16 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
สถานการณ์การเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยไทย ปัญหาของปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อไปสู่การปรับปรุง เครื่องมือ รูปแบบ วิธีการ ในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยไทย ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ที่สามารถนำไปขับเคลื่อนในระดับประเทศ

17

18 การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย Thai Child Development
The Promoting of Thai Child Development

19 ที่มาการวิจัย - เด็กเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญของประเทศ
- เด็กเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญของประเทศ - เด็กต้องมีพัฒนาการเต็มศักยภาพเพื่อให้เติบโตเป็นคนดี มีคุณภาพ - มีปัจจัยและกิจกรรมแวดล้อมหลายประการส่งผลให้ คุณภาพเด็กลดลงหรือถูกทำลาย - การศึกษาสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย ปี 2557

20 กรอบแนวคิดการวิจัย พัฒนาการเด็ก ปัจจัยด้านแม่ คุณลักษณะของพ่อแม่
- อายุ การศึกษา อาชีพ ภาวะสุขภาพระหว่าง ตั้งครรภ์ - โรคประจำตัว - ภาวะแทรกซ้อน - การติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ การฝากครรภ์และ การคลอด - ประวัติการฝากครรภ์ - ประวัติการคลอด การได้รับยาเสริมไอโอดีน พฤติกรรมเสี่ยง - การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยแวดล้อม คุณลักษณะของผู้ดูแล - อายุ การศึกษา อาชีพ ลักษณะครอบครัว - รายได้ครอบครัว การเลี้ยงดู - การเล่านิทาน - การเล่นกับเด็ก ปัจจัยด้านเด็ก ภาวะสุขภาพของ เด็กแรกเกิด - ภาวะออกซิเจนเมื่อแรกเกิด - น้ำหนักแรกเกิด - อายุครรภ์เมื่อคลอด ภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด การเจ็บป่วยของเด็ก - โรคประจำตัว ภาวะโภชนาการของเด็ก - การกินนมแม่ - การได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก - น้ำหนักตามเกณฑ์อายุ - ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ - ส่วนสูงตามเกณฑ์น้ำหนัก พัฒนาการเด็ก

21 ที่มาการวิจัย (ต่อ) การศึกษาสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย ปี 2557 พบ
1. เด็กปฐมวัย (0-5 ปี) มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ถึงร้อยละ 27.2 2. สาเหตุเกิดพัฒนาการล่าช้า : - เด็กไม่ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก - การไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมในโรงเรียนพ่อแม่ - วิธีการเลี้ยงดูเด็ก (กิน กอด เล่น เล่า) - การใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก - การใช้ DSPM ในการประเมินพัฒนาการเด็ก*

22 เพื่อให้เด็กไทยมีพัฒนาการสมวัย
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อให้เด็กไทยมีพัฒนาการสมวัย 1. ศึกษาสถานการณ์ของสาเหตุการเกิดพัฒนาการล่าช้า 2. ศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาของสาเหตุการเกิด พัฒนาการล่าช้าเพื่อส่งเสริมให้เกิดพัฒนาการสมวัย 3. ศึกษารูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยแบบองค์รวม

23 กรอบดำเนินการวิจัย ระยะ 1 (2560-61) ระยะ 2-3 (2562-63)
ระยะ 4 ( ) วัตถุ ประสงค์ ศึกษาสถานการณ์ของสาเหตุการเกิดพัฒนาการล่าช้า ศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาของสาเหตุการเกิดพัฒนาการล่าช้าเพื่อส่งเสริมให้เกิดพัฒนาการสมวัย ศึกษารูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยแบบองค์รวม Study Design Descriptive study Descriptive study (Intervention Study) Descriptive study Experimental study การเลี้ยงดูเด็ก (กิน กอด เล่น เล่า) การให้ยาเสริมธาตุเหล็ก กิจกรรม รร. พ่อแม่ การใช้สมุดสีชมพู การใช้ DSPM* การเลี้ยงดูเด็ก (กิน กอด เล่น เล่า) การให้ยาเสริมธาตุเหล็ก กิจกรรม รร. พ่อแม่ การใช้สมุดสีชมพู การใช้ DSPM* รูปแบบการส่งเสริม พัฒนาการเด็กไทย 0-5 ปี แบบองค์รวม เนื้อหาการศึกษา เด็ก ไทย 0-5 ปี มี พัฒนา การ สมวัย - นพ.สสจ.,จนท.M&C (สสจ.) - ผอ.,จนท.M&C รพศ. รพช. รพ.สต. - พ่อ แม่ หรือ ผู้ดูแลเด็ก - จนท.M&C (สสจ.) - ผอ.,จนท.M&C รพศ. รพช. รพ.สต. - จนท.M&C กรมอนามัย - พ่อ แม่ หรือ ผู้ดูแลเด็ก รพศ. รพช. รพ.สต. - เด็ก 0-5 ปี ประชากรเป้าหมาย - นพ.สสจ.,จนท.M&C (สสจ.) (77 จว.+ กทม.) - รพศ., รพช., รพ.สต. (การศึกษาสถานการณ์พัฒนาการ เด็กปฐมวัยไทย) - รพศ., รพช., รพ.สต. (การศึกษาสถานการณ์พัฒนาการ เด็กปฐมวัยไทย) - รพศ. - รพ.สส.กรมอนามัย พื้นที่ดำเนินการ ปัญหา สาเหตุ ของแต่ละประเด็น ข้อเสนอเชิงนโยบาย แนวทางการดำเนินงาน ข้อปฏิบัติ นโยบาย รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กไทยแบบองค์รวม Output 5.4 ล้านบาท 10.4 ล้านบาท 8 ล้านบาท งปม.

24 งบประมาณ กิจกรรม ผู้ดำเนินการ งบประมาณ
งบประมาณรวมทั้งสิ้น 23.8 ล้านบาท ระยะ 1 ( ) งปม. = 5.4 ล้านบาท กิจกรรม ผู้ดำเนินการ งบประมาณ ประชุมทีมวิจัยเพื่อพัฒนาโครงร่างวิจัย/เครื่องมือ ครั้งที่ 1 ผู้รับผิดชอบหลัก 150,000 ประชุมทีมวิจัยเพื่อพัฒนาโครงร่างวิจัย/เครื่องมือ ครั้งที่ 2 ประชุมชี้แจงการเก็บข้อมูลให้กับทีมเก็บข้อมูลแต่ละศูนย์ 450,000 ให้แต่ละศูนย์ดำเนินการเก็บข้อมูล ศูนย์เขตละ 3 แสน 13 ศูนย์เขต 3,900,000 ประชุมทีมวิจัยเพื่อชี้แจงการรวบรวมและสรุปข้อมูล ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ประชุมทีมวิจัยสรุปผลการวิจัยระยะ 1 ในระดับประเทศ

25 งบประมาณ กิจกรรม ผู้ดำเนินการ งบประมาณ
ระยะ 2 (2562) งปม. = 5.2 ล้านบาท กิจกรรม ผู้ดำเนินการ งบประมาณ ประชุมทีมวิจัยเพื่อพัฒนาโครงร่างวิจัย/เครื่องมือ ผู้รับผิดชอบหลัก 150,000 ให้แต่ละศูนย์ดำเนินการเก็บข้อมูล ศูนย์เขตละ 3 แสน 13 ศูนย์เขต 3,900,000 ประชุมทีมวิจัยเพื่อชี้แจงการรวบรวมและสรุปข้อมูล ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ประชุมชี้แจง(หารือ)ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อทบทวนแนวทาง ข้อปฏิบัติ นโยบายที่ได้จากการวิจัย (ที่นำไปใช้ได้จริง) 400,000 ประชุมทีมวิจัยสรุปผลการวิจัยระยะ 2 ในระดับประเทศ 450,000

26 งบประมาณ กิจกรรม ผู้ดำเนินการ งบประมาณ
ระยะ 3 (2563) งปม. = 5.2 ล้านบาท กิจกรรม ผู้ดำเนินการ งบประมาณ ประชุมทีมวิจัยเพื่อพัฒนาโครงร่างวิจัย/เครื่องมือ ผู้รับผิดชอบหลัก 150,000 ให้แต่ละศูนย์ดำเนินการเก็บข้อมูล ศูนย์เขตละ 3 แสน 13 ศูนย์เขต 3,900,000 ประชุมทีมวิจัยเพื่อชี้แจงการรวบรวมและสรุปข้อมูล ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ประชุมชี้แจง(หารือ)ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อทบทวนแนวทาง ข้อปฏิบัติ นโยบายที่ได้จากการวิจัย (ที่นำไปใช้ได้จริง) 400,000 ประชุมทีมวิจัยสรุปผลการวิจัยระยะ 2 ในระดับประเทศ 450,000

27 งบประมาณ กิจกรรม ผู้ดำเนินการ งบประมาณ
ระยะ 4 ( ) งปม. = 8 ล้านบาท กิจกรรม ผู้ดำเนินการ งบประมาณ ประชุมทีมวิจัยเพื่อพัฒนาโครงร่างวิจัย/เครื่องมือ ครั้งที่ 1 ผู้รับผิดชอบหลัก 150,000 ประชุมทีมวิจัยเพื่อพัฒนาโครงร่างวิจัย/เครื่องมือ ครั้งที่ 2 ประชุมชี้แจงการเก็บข้อมูลให้กับทีมเก็บข้อมูลแต่ละศูนย์ 450,000 ให้แต่ละศูนย์ดำเนินการเก็บข้อมูล ศูนย์เขตละ 5 แสน 13 ศูนย์เขต 6,500,000 ประชุมทีมวิจัยเพื่อชี้แจงการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ครั้งที่ 1 ประชุมทีมวิจัยเพื่อชี้แจงการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ครั้งที่ 2 ประชุมทีมวิจัยสรุปผลการวิจัยระยะ 3 ในระดับประเทศ

28 Thank You


ดาวน์โหลด ppt การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google