กฎหมายสาธารณสุข น.ส.นิธิวดี ศรีกัณหา นิติกร ศูนย์อนามัยที่ 6
สถานประกอบการ /โรงงาน ที่/ทางสาธารณะ อยู่ใน อาคาร เอื้อต่อ สุขภาพ ถูกสุขลักษณะ ถ่ายสิ่งปฏิกูล สะอาด/ ปลอดภัย คน มลภาวะ กินอาหาร ชุมชน ทำงานในสถานที่ ทิ้งมูลฝอย ปลอดภัย ก่อเหตุ รำคาญ สถานประกอบการ /โรงงาน
พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้อำนาจ ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น สิ่งปฏิกูล/ มูลฝอย กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ตลาด สถานที่จำหน่าย/สะสมอาหาร จำหน่ายสินค้าในที่/ทางสาธารณะ จพง.ท้องถิ่นพิจารณาอนุญาต และตรวจตราดูแล กิจการต่าง ๆ ควบคุม ดูแล เกิดเหตุรำคาญ ผิดสุขลักษณะอาคาร ฝ่าฝืนข้อกำหนดฯ ใช้มาตรการทางปกครอง ปรับปรุง / แก้ไข หยุดกิจการ พักใช้/เพิกถอน ใบอนุญาต
เนื้อหาสาระ... หมวด ๑ บททั่วไป หมวด ๒ คณะกรรมการสาธารณสุข หมวด ๑ บททั่วไป หมวด ๒ คณะกรรมการสาธารณสุข หมวด ๓ การจัดการสิ่งปฏิกูลมูลฝอย หมวด ๔ สุขลักษณะของอาคาร หมวด ๕ เหตุรำคาญ หมวด ๖ การควบคุมการเลี้ยง / ปล่อยสัตว์ หมวด ๗ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด ๘ ตลาด สถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร หมวด ๙ การจำหน่ายสินค้าในที่ / ทางสาธารณะ หมวด ๑๐ อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและ เจ้าพนักงานสาธารณสุข
เนื้อหาสาระ... หมวด ๑๑ หนังสือรับรองการแจ้ง หมวด ๑๒ ใบอนุญาต หมวด ๑๑ หนังสือรับรองการแจ้ง หมวด ๑๒ ใบอนุญาต หมวด ๑๓ ค่าธรรมเนียมและค่าปรับ หมวด ๑๔ การอุทธรณ์ หมวด ๑๕ บทกำหนดโทษ หมวด ๑๖ บทเฉพาะกาล
พ.ร.บ.สาธารณสุข รมว.สาธารณสุข - เสนอความเห็นกำหนดนโยบาย แผนงาน - เสนอความเห็นปรับกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง - คำแนะนำในการออกกฎกระทรวง - เสนอรายงานการควบคุม สอดส่อง การปฏิบัติตามกฎหมาย พ.ร.บ.สาธารณสุข คณะกรรมการสาธารณสุข รมว.สาธารณสุข กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ปลัดกระทรวง สธ. (ประธานกรรมการฯ) - ให้คำปรึกษา อปท. - กำหนดโครงการ + ประสานงาน ระหว่างหน่วยงาน - ให้คำแนะนำ อปท. ในการออก ข้อกำหนดของท้องถิ่น - ควบคุมสอดส่องดูแลการปฏิบัติ ตามกฎหมาย ยกเว้นอัตราค่าธรรมเนียม แต่งตั้ง เจ้าพนักงานสาธารณสุข อธิบดีกรมอนามัย (กรรมการและเลขาฯ) อำนาจมาตรา 8 คณะอนุกรรมการ หน่วยงานสาธารณสุข สนับสนุน ราชการส่วนท้องถิ่น -ควบคุม -ออกข้อกำหนด ท้องถิ่น จพง.สธ. จพถ. จพง.สธ. คณะอนุกรรมการ อุทธรณ์ฯ ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งฯ คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ฝ่าฝืน สิทธิการอุทธรณ์ คกก.เปรียบเทียบ จพถ. / ผู้ได้รับมอบหมาย ผู้ประกอบการ / ประชาชน
หรือเพื่อนำไปทำลายในกรณีจำเป็น (ม.44) 1. มีหนังสือเรียกมาให้ถ้อยคำหรือแจ้งข้อเท็จจริง / ทำคำชี้แจงเป็นหนังสือ / ให้ส่งเอกสาร หลักฐาน 2. เข้าไปในอาคารสถานที่ใดในระหว่าง พระอาทิตย์ขึ้น - พระอาทิตย์ตก หรือ ในเวลาทำการ 3. แนะนำให้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามเงื่อนไขในใบอนุญาต / หนังสือรับรองการแจ้ง 4. ยึด อายัด สิ่งของใด ๆ ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพเพื่อประโยชน์ในการดำเนินคดี หรือเพื่อนำไปทำลายในกรณีจำเป็น 5. เก็บ / นำสินค้า / สิ่งของใด ๆ ที่สงสัยว่าไม่ถูกสุขลักษณะหรือจะก่อให้เกิดเหตุรำคาญ จากอาคารหรือสถานที่ใด ๆ เป็นปริมาณอันสมควรเพื่อเป็นตัวอย่างในการตรวจสอบ ตามความจำเป็นโดยไม่ต้องใช้ราคา
ตลาด สถานที่ซึ่งปกติจัดไว้ให้ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจำหน่ายสินค้าประเภทสัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ หรืออาหารที่มีสภาพเป็นของสด ประกอบ หรือปรุงแล้ว หรือ ของเสียง่าย ทั้งนี้ไม่ว่าจะมีการจำหน่ายสินค้าประเภทอื่นหรือไม่ก็ตาม และหมายความรวมถึงบริเวณซึ่งจัดไว้สำหรับผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจำหน่ายสินค้าประเภทดังกล่าวเป็นประจำ หรือเป็นครั้งคราวหรือตามวันที่กำหนด
ผู้จัดตั้งตลาด เอกชน กระทรวง ทบวง กรม ข้อกำหนดของท้องถิ่น เจ้าพนักงาน ไม่ต้องขออนุญาต แต่ต้องปฏิบัติตาม ต้องขอ อนุญาต เปลี่ยนแปลง ขยาย/ลด ขนาดตลาด เงื่อนไขเฉพาะที่ แจ้งเป็นหนังสือ เจ้าพนักงาน ท้องถิ่น ต้องปฏิบัติตาม มีอำนาจ ออก ข้อกำหนดของท้องถิ่น
ตลาด สุขลักษณะของตลาด พ.ศ. 2551 กฎกระทรวง พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ประเภท 1 ประเภท 2
สถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร สถานที่จำหน่ายอาหาร : สถานที่เอกชนที่ ประกอบ ปรุง หรือ จำหน่ายอาหาร ไม่ว่าจะมีที่นั่งรับประทาน หรือไม่ก็ตาม สถานที่สะสมอาหาร : สถานที่เอกชนที่มีการจัดเก็บอาหารไม่ว่าเป็น ของสด หรือ ของแห้ง ที่ผู้ซื้อต้องนำไป ประกอบปรุงอีกครั้งหนึ่ง
ผู้จัดตั้งสถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร กรณีที่มีพื้นที่ เกินกว่า 200 ตร.ม. และมิใช่ การขายของในตลาด กรณีที่มีพื้นที่ ไม่เกิน 200 ตร.ม. และมิใช่ การขายของในตลาด ปฏิบัติตาม ขออนุญาต แจ้ง ข้อกำหนดของท้องถิ่น เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ผู้จำหน่ายสินค้าในที่/ จำหน่ายสินค้าในที่ หรือ ทางสาธารณะ ผู้จำหน่ายสินค้าในที่/ ทางสาธารณะ ขออนุญาต ชนิด/ประเภทสินค้า ลักษณะการจำหน่าย สถานที่ขาย เงื่อนไขอื่น ๆ เจ้า พนักงาน ท้องถิ่น ถ้าเปลี่ยนแปลง ต้อง ปฏิบัติ ตาม ต้องแจ้ง มีอำนาจ ข้อกำหนดของท้องถิ่น ประกาศเขต
เจ้าพนักงานท้องถิ่น ข้อกำหนดของท้องถิ่น ประกาศเขต + จพง.จราจร สุขลักษณะเกี่ยวกับ ผู้ขาย/ผู้ช่วยขาย กรรมวิธีการจำหน่าย ทำ ประกอบ ปรุง เก็บ/สะสม ความสะอาดภาชนะ น้ำใช้ ของใช้ การจัดวาง/ การเร่ขาย เวลาจำหน่าย ป้องกันเหตุรำคาญ/ โรคติดต่อ ประกาศเขต ห้ามขายหรือซื้อโดยเด็ดขาด ห้ามขายสินค้าบางชนิด ห้ามขายสินค้าตามกำหนด เวลา เขตห้ามขายตามลักษณะ กำหนดเงื่อนไขการจำหน่าย ปิดที่สำนักงานฯ และบริเวณที่กำหนดเป็นเขต และระบุวันบังคับ โดยไม่น้อยกว่า 15 วัน นับแต่วันประกาศ
ขั้นตอนการแจ้ง (1) ผู้ประกอบการยื่นคำขอพร้อมหลักฐานตามที่ ราชการส่วนท้องถิ่นกำหนด ต่อ จพถ. หนังสือรับรอง การแจ้งชั่วคราว (2) จพถ. พิจารณาคำขอ กรณี ไม่ถูกต้อง แจ้งผู้ประกอบการภายใน 7 วัน เพื่อทราบและแก้ไข กรณีถูกต้อง ภายใน 7 วัน เมื่อแก้ไข ถูกต้อง กรณีไม่แก้ไข ให้ถูกต้อง (3) จพถ. อาจมอบให้ จพส. ตรวจสถานที่ด้านสุขลักษณะ ภายใน 7 วัน ต้องด้วยสุขลักษณะ ไม่ต้องด้วยสุขลักษณะ เป็นการสละสิทธิ การยื่นคำขอ ภายใน 7 วัน (4) จพถ.ออกหนังสือรับรองการแจ้ง (4) จพถ. ไม่ออกหนังสือรับรองการแจ้ง
ขั้นตอนการขอใบอนุญาต (1) ผู้ประกอบการยื่นคำขอพร้อมหลักฐานตามที่ ราชการส่วนท้องถิ่นกำหนด ต่อ จพถ. (2) จพถ. พิจารณาคำขอ กรณี ไม่ถูกต้อง แจ้งผู้ประกอบการภายใน 15 วัน เพื่อทราบและแก้ไข กรณีถูกต้อง เมื่อแก้ไข ถูกต้อง กรณีไม่แก้ไข ให้ถูกต้อง (3) จพถ. อาจมอบให้ จพส. ตรวจสถานที่ด้านสุขลักษณะ เป็นการสละสิทธิ การยื่นคำขอ ต้องด้วยสุขลักษณะ ไม่ต้องด้วยสุขลักษณะ ภายใน 30 วัน (ขยายเวลาได้ 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 15 วัน) (4) จพถ.ออกใบอนุญาต (4) จพถ. มีคำสั่งไม่อนุญาต
หยุดชั่วคราว ดำเนินการแทน พักใช้ เพิกถอน เปรียบเทียบคดี ดำเนินคดี .....มาตรการบังคับ
สวัสดีค่ะ