งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
การขับเคลื่อนพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ โดย นางสาวอังคณา บริสุทธิ์ ผู้อำนวยการศูนย์กฎหมาย กรมควบคุมโรค วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี

2 “การขับเคลื่อนพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑”
“การขับเคลื่อนพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑”

3 โครงสร้างและกลไกการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
รัฐมนตรี ผู้ว่าราชการจังหวัด พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ระหว่างประเทศ คณะทำงานประจำช่องทาง เข้าออก เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ในประเทศ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ กรมควบคุมโรค ประชาชน คณะกรรมการ ด้านวิชาการ กฎอนามัยระหว่างประเทศ 2005 เจ้าบ้าน/แพทย์ ที่ทำการรักษา สถานพยาบาล สถานที่ชันสูตร/ ห้องปฏิบัติการ สถานประกอบการ/สถานที่อื่นๆ ความเชื่อมโยงระหว่างฝ่ายนโยบาย ฝ่ายวิชาการ และฝ่ายปฏิบัติ สอดคล้องกับกฎอนามัยระหว่างประเทศและเชื่อมโยงกับองค์กรนานาชาติ เชื่อมโยงกลไกการจัดการสาธารณภัยของประเทศ องค์กรปกครองท้องถิ่น และภาคเอกชนด้านการแพทย์และสาธารณสุข องค์การอนามัยโลก องค์กรระหว่างประเทศ ด้านการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

4 ความเชื่อมโยงกลไกการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
รัฐมนตรี ออกกฎกระทรวง/ประกาศ/ระเบียบเช่น ประกาศชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย/โรคติดต่อที่ต้อง เฝ้าระวัง ประกาศเขตติดโรค (ต่างประเทศ) แต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ หรือตั้งด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ กำหนดนโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติ และแผนปฏิบัติการ* (เสนอครม.) - ให้คำปรึกษา คำแนะนำ รวมถึงติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ให้ความเห็นชอบหรือคำแนะนำแก่รัฐมนตรี ในการออกอนุบัญญัติต่างๆ แต่งตั้งคณะกรรมการด้านวิชาการ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ดำเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติกำหนด จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตพื้นที่จังหวัด รายงานสถานการณ์โรคติดต่อหรือโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่อาจเป็นโรคระบาดต่อกรมควบคุมโรค แต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก (กรณีจังหวัดที่มีด่าน) คณะกรรมการด้านวิชาการ ให้คำแนะนำรัฐมนตรี ในการประกาศเขตติดโรค(ต่างประเทศ) - ให้คำแนะนำอธิบดี ในการประกาศโรคระบาด (ในประเทศ) กรมควบคุมโรค สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ/คณะกรรมการ ด้านวิชาการ/อนุกรรมการ หน่วยงานกลางในการเสนอนโยบาย ระบบ และศูนย์ข้อมูลกลางด้านโรคติดต่อของประเทศ จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ประสานงาน ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล ประกาศโรคระบาดในประเทศ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ/เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ - ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันสอบสวนโรค และควบคุม โรคติดต่อในเขตพื้นที่ - รายงานข้อมูล เหตุสงสัย หรือหลักฐานว่ามีโรคติดต่ออันตราย หรือโรคระบาดเกิดขึ้นในพื้นที่ - เข้าไปในยานพาหนะ อาคาร หรือสถานที่ใด เพื่อตรวจสอบหรือควบคุมให้เป็นไปตามกฎหมาย คณะทำงานประจำช่องทาง เข้าออก/เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำด่านฯ จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคใน ช่องทางเข้าออก จัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน จัดทำแผนติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเกี่ยวกับการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ อื่นๆ ค่าทดแทน/ค่าตอบแทน เครื่องหมาย/เครื่องแบบ/ บัตรประจำตัว บทลงโทษ

5 โครงสร้างและกลไกระดับจังหวัด
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/กทม. ดำเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติกำหนด จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตพื้นที่จังหวัด รายงานสถานการณ์โรคติดต่อหรือโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่อาจเป็นโรคระบาดต่อกรมควบคุมโรค แต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก (กรณีจังหวัดที่มีด่าน) จัดตั้งหน่วยงานปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อทุกอำเภอ/เขต * (ผู้ว่าแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ) คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก จัดทำแผนปฏิบัติการช่องทาง เข้าออกของตนเอง จัดทำแผนเตรียมความพร้อม รับสถานการณ์ฉุกเฉิน จัดทำแผนติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อตามที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ/คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดมอบหมาย คณะกรรมการวิชาการ กรมควบคุมโรค หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ ดำเนินการ เฝ้าระวัง ป้องกัน สอบสวนโรค และควบคุมโรคติดต่อภายในเขตพื้นที่ของตน เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันสอบสวนโรค และควบคุมโรคติดต่อภายในเขตพื้นที่ รายงานข้อมูล เหตุสงสัยหลักฐานว่ามีโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดเกิดขึ้นในพื้นที่ ต่อคณะกรรมการจังหวัด เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำด่านฯ ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ตรวจตรา ควบคุม กำกับดูแลพื้นที่รอบช่องทางเข้าออก ประชาชน เจ้าบ้าน/แพทย์ที่ทำการรักษา สถานพยาบาล สถานที่ชันสูตร/ห้องปฏิบัติการ สถานประกอบการ/สถานที่อื่นๆ

6 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
2. แต่งตั้งคณะทำงานประจำ ช่องทางเข้าออก * เฉพาะจังหวัดที่มีด่านฯ 3. แต่งตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ อย่างน้อยอำเภอละ ๑ หน่วย * ผู้ว่าราชการจังหวัด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ 4. รับแจ้งข้อมูล กรณีโรคติดต่อเกิดขึ้น ตามมาตรา ๓๒ * คณะกรรมการ 5. รับแจ้งข้อมูลจาก เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ตามมาตรา ๓๔ 6. ออกคำสั่งตามมาตรา ๓๕ เช่น สั่งปิดตลาด สถานที่ชุมนุมชน หรือสั่งให้หยุดการประกอบอาชีพเป็นการชั่วคราว เป็นต้น 1. อำนาจหน้าที่ตามมาตรา ๒๒ เช่น จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตพื้นที่จังหวัด รายงานสถานการณ์โรคติดต่อในเขตพื้นที่จังหวัด ไปยังกรมควบคุมโรค รายงานให้ กรมควบคุมโรคทราบ

7 องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ/คณะทำงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่
องค์ประกอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด (ไม่น้อยกว่า ๑๘ คน) ตามมาตรา ๒๐ ประธาน ผู้ว่าราชการจังหวัด กรรมการโดยตำแหน่ง 1. ปลัดจังหวัด 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด 3. ปศุสัตว์จังหวัด 4. หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด 5. ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่รับผิดชอบในเขตจังหวัด 6. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด กรรมการจากหน่วยงาน ด้านส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น* 1. นายกเทศมนตรี จำนวน 1 คน 2. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 1 คน กรรมการจากหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข* 1. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์หรือผู้อำนวยการโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 1 คน 2. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 2 คน 3. สาธารณสุขอำเภอ จำนวน 2 คน กรรมการจากสถานพยาบาล* ผู้ดำเนินการสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล จำนวน 1 คน กรรมการและเลขานุการ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ข้าราชการในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ดำเนินงานด้านการป้องกันควบคุมโรคจำนวนไม่เกิน 2 คน

8 องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ/คณะทำงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่
องค์ประกอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด (ไม่น้อยกว่า ๑๘ คน) ตามมาตรา ๒๐ อื่นๆ ๑. จังหวัดใดมีโรงพยาบาลในสังกัดหน่วยงานของรัฐอื่นนอกจากมาตรา 20 (4) ให้แต่งตั้ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลในสังกัดหน่วยงานของรัฐนั้น จำนวนไม่เกิน 3 คน ๒. จังหวัดใดมีด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ให้แต่งตั้ง 2.1 เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งประจำด่านฯ จำนวนแห่งละ 1 คน 2.2 ผู้รับผิดชอบช่องทางเข้าออกประจำด่านฯ จำนวนแห่งละ 1 คน * กรรมการซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง

9 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด ตามมาตรา ๒๒
องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ/คณะทำงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด ตามมาตรา ๒๒ ดําเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติกําหนด จัดทําแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดในเขตพื้นที่จังหวัด รายงานสถานการณ์โรคติดต่อหรือโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่อาจเป็นโรคระบาดซึ่งเกิดขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดต่ออธิบดีกรมควบคุมโรค สนับสนุน ส่งเสริม ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในจังหวัดแล้วรายงานต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ แต่งตั้งคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกตามมาตรา ๒๓ ในกรณีที่จังหวัดนั้นมีด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ เรียกให้บุคคลใดๆ มาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น หรือให้จัดส่งข้อมูลหรือเอกสารใดๆ ที่จําเป็นหรือข้อคิดเห็นมาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณา ดําเนินการอื่นใดที่เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อตามที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติหรือผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย หรือตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้

10 ประกาศคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแต่งตั้ง วาระ การดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการโรคติดต่อจังหวัดและกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2559 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙ เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๒๑ ง มีผลใช้บังคับวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ใช้บังคับกับการแต่งตั้งกรรมการโรคติดต่อจังหวัดตามมาตรา ๒๐ (๓) (๔) และ (๕) และมาตรา ๒๐ วรรคสอง และกรรมการตามมาตรา 26 (3) (4) และ (5)

11 ประกาศคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแต่งตั้ง วาระ การดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการโรคติดต่อจังหวัดและกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2559 การแต่งตั้งกรรมการตามมาตรา 20 (3) (4) และ (5) กรรมการตามมาตรา 20 วรรคสองและกรรมการตามมาตรา 26 (3) (4) และ (5) ผู้มีอำนาจแต่งตั้ง ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี ระยะเวลาการแต่งตั้ง ต้องแต่งตั้งให้แล้วเสร็จภายใน ๖๐ วัน นับแต่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ (วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๙) การพิจารณา เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณ์ซึ่งเป็นที่ประจักษ์ในด้าน การสาธารณสุข การควบคุมโรค หรือด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการเฝ้าระวัง การป้องกัน หรือการควบคุมโรคติดต่อ วาระการดำรงตำแหน่ง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ ๓ ปี กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับ การแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน ๒ วาระไม่ได้

12 การแต่งตั้งกรรมการแทน
ประกาศคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแต่งตั้ง วาระ การดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการโรคติดต่อจังหวัดและกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2559 การแต่งตั้งกรรมการแทน พ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ แต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตำแหน่งดังกล่าวภายใน 30 วันนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง และให้ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทนอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน เว้นแต่เหลืออยู่ไม่ถึง 90 วัน จะไม่ดำเนินการแต่งตั้งกรรมการแทนก็ได้ และให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเท่าที่เหลืออยู่ การพ้นจากตำแหน่ง (1) ตาย (2) ลาออก (3) ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณี ให้ออก เพราะมีพฤติกรรมเสื่อมเสีย บกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ หรือหย่อนความสามารถ (4) เป็นบุคคลล้มละลาย (5) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (6) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิด ที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

13 ประกาศคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ พ.ศ. 2559
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙ เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๒๑ ง มีผลใช้บังคับวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง แห่ง พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕58

14 การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ
ที่มา : มาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ผู้มีอำนาจแต่งตั้ง ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด หรือ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี จำนวน จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อขึ้นในทุกอำเภอหรือทุกเขตอย่างน้อย ๑ หน่วย หน้าที่ ทำหน้าที่ในการเฝ้าระวัง สอบสวนโรค ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือ โรคระบาด องค์ประกอบ อย่างน้อยต้องประกอบด้วย เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ๑ คน และ เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และการสาธารณสุข ๒ คน และ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือหน่วยงานภาคเอกชน ตามจำนวนที่ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เห็นสมควร

15 ประกาศคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ พ.ศ. 2559
ผู้มีอำนาจแต่งตั้ง ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี วิธีการแต่งตั้ง ให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่จัดทำรายชื่อเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และการสาธารณสุข เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ หรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาคเอกชน ซึ่งเป็นผู้ที่สมควรได้รับการแต่งตั้งในแต่ละอำเภอหรือแต่ละเขต เสนอต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ คุณสมบัติ ต้องผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรระบาดวิทยา หรือการเฝ้าระวัง การป้องกัน หรือ การควบคุมโรคติดต่อ ที่กรมควบคุมโรคกำหนดหรือที่กรมควบคุมโรครับรอง การแต่งตั้งทดแทน ให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหรือสำนักอนามัย กรุงเทพมหานครดำเนินการตามวิธีการและขั้นตอนที่กำหนดไว้ เพื่อให้มีการแต่งตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อทดแทนตำแหน่งที่ว่างลง ภายใน ๓๐ วันนับจากวันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง

16 ประกาศคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ พ.ศ. 2559
การพ้นจากตำแหน่ง (1) ตาย (2) ลาออก (3) ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณี ให้ออก เพราะมีพฤติกรรมเสื่อมเสีย บกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ หรือหย่อนความสามารถ (4) เป็นบุคคลล้มละลาย (5) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (6) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิด ที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๗) ได้ย้ายหรือโอนไปยังหน่วยงานที่มิได้ตั้งอยู่ในอำเภอหรือเขตเดียวกัน

17 การแต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก
มาตรา ๒๒ ให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) แต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกตามมาตรา ๒๓ ในกรณีที่จังหวัดนั้น มีด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (๖) (๗) มาตรา ๒๓ องค์ประกอบของคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก มาตรา ๒๔ อำนาจหน้าที่ของคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก

18 คณะทำงานจากโรงพยาบาล คณะทำงานและเลขานุการ
องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ/คณะทำงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่ องค์ประกอบของคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก (ไม่น้อยกว่า ๘ คน) ตามมาตรา ๒๓ ประธาน เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบช่องทางเข้าออกนั้น คณะทำงานโดยตำแหน่ง ๑. ผู้แทนกรมปศุสัตว์ ๒. ผู้แทนกรมวิชาการเกษตร ๓. ผู้แทนกรมศุลกากร ๔. ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ๕. ผู้แทนสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (ผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในช่องทางเข้าออกนั้น) คณะทำงานจากโรงพยาบาล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลในสังกัดหน่วยงานของรัฐที่ดูแลรับผิดชอบช่องทางเข้าออกนั้น จำนวน ๑ คน คณะทำงานและเลขานุการ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ จำนวน ๑ คน อื่นๆ 1. ช่องทางเข้าออกใดมีผู้แทนจากหน่วยงานของรัฐปฏิบัติหน้าที่ในช่องทางเข้าออกน้อยกว่า หน่วยงานตามที่กําหนดไว้ในมาตรา 23 (2) ให้คณะทํางานประกอบด้วยผู้แทนจาก หน่วยงานเท่าที่มีอยู่ 2. ช่องทางใดมีผู้แทนจากหน่วยงานของรัฐปฏิบัติหน้าที่มากกว่าหน่วยงานตามที่กำหนดไว้ ในมาตรา 23 (2) ให้คณะกรรมการประกาศกำหนดเพิ่มเติมจากจำนวนที่มีอยู่เดิมได้

19 อำนาจหน้าที่ของคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตามมาตรา ๒๘
องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ/คณะทำงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่ อำนาจหน้าที่ของคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตามมาตรา ๒๘ จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ และแผนเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ประสาน สนับสนุน และติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนในข้อ 1 จัดทำแผนการติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวกับการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตามที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดมอบหมาย มาตรา ๓๐ ให้นำความในมาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๔ มาใช้บังคับแก่องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ ของคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกที่คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครแต่งตั้งโดยอนุโลม

20 อำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

21 อำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๖ แต่งตั้งกรรมการจังหวัด/กทม. เพิ่มเติม มาตรา ๓๕ กรณีมีเหตุจำเป็นเร่งด่วนเพื่อป้องกันการแพร่ของ โรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาด สั่งปิดตลาด สถานที่ประกอบ/ผลิต/จำหน่ายอาหารหรือเครื่องดื่ม โรงงาน สถานที่ชุมนุมชน โรงมหรสพ สถานศึกษา สถานที่อื่นใดชั่วคราว สั่งให้ผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคหยุดการประกอบอาชีพชั่วคราว สั่งห้ามผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคเข้าไปในสถานที่ชุมนุมชน โรงมหรสพ สถานศึกษาสถานที่อื่นใด มาตรา ๓๖ จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อขึ้นในทุกอำเภอ/เขตอย่างน้อย ๑ หน่วย * มาตรา ๓๕ และมาตรา ๓๖ โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/กทม.

22 แผนปฏิบัติการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด พ. ศ
แผนปฏิบัติการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ ในการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๙ เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๙ คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือ โรคระบาด พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ ในการประชุมคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๙ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม ๒๕๕๙

23


ดาวน์โหลด ppt วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google