“การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury) นายแพทย์สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี วันที่ 30 พฤศจิกายน 2560

การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร (Road Traffic Injury) เป้า อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนปี 2561 ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน *** เป้าหมายรายจังหวัด : ลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนร้อยละ 21 จากค่ามัธยฐานปี 2553-2555 ถนน รถ มาตรการ ขยับ : จุดคานงัด สู่อำเภอ RISK เร็ว ดื่มขับ อื่น ๆ ใม่ใช้ หมวก/ belt มาตรการ 4x4

การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ปี 2561 (กระทรวง) เป้าหมายประเทศ : อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน *** เป้าหมายรายจังหวัด : ลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนร้อยละ 21 จากค่ามัธยฐานปี 2553-2555 มาตรการบริหารจัดการ 1.SAT/EOC-RTI คุณภาพ 2.TEA Unit คุณภาพ (รพ. A S M1) 3. สสอ./รพช./คปสอ. เป็น เลขาร่วมใน ศปถ. อำเภอ 4. อำเภอมีการบูรณาการงาน RTI ใน DHB มาตรการข้อมูล (4I) 1. Integration Data 3 ฐาน 2. IS online (รพ. A S M1) 3. Investigation online 4. Information Black Spot นำเสนอข้อมูลผ่าน ศปถ. อย่างน้อย 5 จุด/จังหวัด/ ไตรมาส มาตรการป้องกัน (D-CAR) 1. D-RTI ปี 2 (อำเภอ) 2. Community Road Safety (ชุมชน/ตำบล/หมู่บ้าน) 3. Ambulance Safety 4. RTI Officer เจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยทางถนน (จปถ.) เน้น รถพยาบาล รถยนต์ราชการ (ฝ่ายบริหารของหน่วยงาน) มาตรการรักษา (2EIR) 1. EMS คุณภาพ 2. ER คุณภาพ 3. In-hos คุณภาพ 4. Referral System Quick win ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 เสนอข้อมูลการตายที่เป็นทางการต่อ ศปถ.ประเทศ การจัดอบรม IS online (รพ. A S M1) อย่างน้อย 6 เขต มีการชี้เป้าจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. ทุกจังหวัด (760 จุด) จังหวัดรายงานการ บูรณาการข้อมูลการตาย ครบทุกจังหวัด (76 จังหวัด) อำเภอที่ดำเนินการ D-RTI ตามเป้าหมาย (322 อำเภอ) 2. มีการรายงานผลการสอบสวนผ่าน Investigation online ตามเกณฑ์ รพ. A S M1 มีระบบรายงาน IS online อย่างน้อย 80% มีอำเภอ D-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี 50% (161 อำเภอ) มีการชี้เป้าจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. ทุกจังหวัด (1,520 จุด) จำนวนครั้งและผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนที่มีค่า Ps>0.75 เสียชีวิตไม่เกิน 1% ใน รพ. A S M1 *** เป้าหมายรายจังหวัด จำนวนผู้เสียชีวิตจากการจราจรทางถนนลดลงร้อยละ 21 สามารถค้นข้อมูลรายละเอียดได้ที่ www.thaincd.com

D-RTI เป็นการออกแบบการดำเนินงานที่สามารถบูรณการงาน Concept D-RTI การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในระดับอำเภอ (District Road Traffic Injury : D-RTI) หมายถึง: หน่วยงานในระดับอำเภอ ได้แก่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหรือโรงพยาบาลชุมชน หรือคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.) มีการดำเนินงานป้องกันและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนนในระดับอำเภอ ร่วมกับภาคีเครือข่าย 1) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board: DHB/พชอ.) 2) ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนระดับอำเภอ (ศปถ.อำเภอ) 3) อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 4) หรือระบบการทำงานอื่นๆ ในอำเภอ เช่น One Health วัตถุประสงค์ - เพื่อให้เกิดการทำงานตลอดทั้งปี และครอบคลุมทุกประเด็น - สามารถวัดผลผลิตการทำงาน และประเมินผลลัพธ์ D-RTI เป็นการออกแบบการดำเนินงานที่สามารถบูรณการงาน กับระบบงานอื่นๆ ได้ในอำเภอ

กรอบการดำเนินงาน D-RTI

ผลการดำเนินงาน DHS-RTI ปี 2560 (ปีที่ผ่านมา) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินการ จำนวนอำเภอที่ดำเนินการป้องกันการ บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน (DHS-RTI) 264 อำเภอ 634 อำเภอ (72.20% ของประเทศ) 2. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ ระดับดี (Good) ขึ้นไป 132 อำเภอ 470 อำเภอ (74.13% ของอำเภอ ที่ดำเนินการ) - ระดับดี (Good) - 328 อำเภอ - ระดับดีมาก (Excellent) 89 อำเภอ - ระดับดีเยี่ยม (Advanced) 54 อำเภอ 3. จำนวนอำเภอที่มีผู้บาดเจ็บและผู้เสียชีวิตลดลง 176 อำเภอ (37.44% ของอำเภอ ผ่านเกณฑ์ระดับดี)

อำเภอที่มีการ ดำเนินงานDHS-RTI จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด จำนวน อำเภอ อำเภอที่มีการ ดำเนินงานDHS-RTI ผลการประเมิน GOOD EXCELLENT ADVANCED ไม่ผ่าน ไม่สมัคร กาญจนบุรี 13 12 5 - 3 4 1   อ.ทองผาภูมิ อ.เมืองกาญจนบุรี อ.สังขละบุรี อ.บ่อพลอย อ.ไทรโยค อ.ท่ามะกา อ.ห้วยกระเจา อ.พนมทวน อ.ท่าม่วง อ.เลาขวัญ อ.ศรีสวัสดิ์ อ.ด่านมะขามเตี้ย อ.หนองปรือ

รายละเอียดตัวชี้วัด D-RTI ปี 2561 กรมควบคุมโรค ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย คะแนน 1. วิเคราะห์ข้อมูลและสถานการณ์การบาดเจ็บและเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางถนน เพื่อกำหนดพื้นที่เป้าหมาย มีการดำเนินการ 1 คะแนน 2. จัดทำแผนงานหรือโครงการในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการ ดำเนินงาน และชี้แจง/ถ่ายทอด นโยบาย แก่หน่วยงานในพื้นที่ 3. ร้อยละของอำเภอที่ดำเนินการป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ทางถนน (D-RTI) มีอำเภอเสี่ยงสูงสุดอันดับ 1 ของจังหวัด และอำเภอที่เหลือไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 4. ร้อยละของอำเภอที่ดำเนินการป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ทางถนน(D-RTI) ที่ดำเนินการผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดีขึ้นไป จำนวน 50% ของอำเภอที่ดำเนินการ 5. ร้อยละของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดีขึ้นไปที่มีผู้บาดเจ็บ และผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง จำนวน 30% ของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป เป้าหมาย : รอบ 6 เดือน ถึงขั้นตอนที่ 1 และ 2 รอบ 9 เดือน ถึงขั้นตอนที่ 3 รอบ 12 เดือน ถึงขั้นตอนที่ 4 และ 5 แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล: 1) รายงานการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนจากแบบฟอร์มรายงานของจังหวัด และ สคร.1-12 2) ข้อมูลจำนวนผู้บาดเจ็บและผู้เสียจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ที่ดำเนินการ D-RTI ใช้ฐานข้อมูลบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด ระยะเวลา 11 เดือน: ตุลาคม 2560 – 31 สิงหาคม 2561 ตัดข้อมูลวันที่ 15 กันยายน 2561

เป้าหมาย D-RTI ในปี 2561 ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย 1. มีการดำเนินงานในพื้นที่อำเภอเสี่ยงสูงสุดอันดับ 1 ของจังหวัด และอำเภอที่เหลือไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 322 อำเภอ 2. มีอำเภอดำเนินการผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (Good) ขึ้นไป อย่างน้อยร้อยละ 50 ของอำเภอที่ดำเนินการตามกำหนด 161 อำเภอ 3. จำนวนอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดีขึ้นไปมีผู้บาดเจ็บ และผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง เป้าหมายร้อยละ 30 ของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ 50 อำเภอ หมายเหตุ: 1. จังหวัดที่มีจำนวนอำเภอ ≤ 4 อำเภอ ให้ดำเนินการเพียง 1 อำเภอ โดยเลือกดำเนินการในอำเภอเสี่ยงสูงเป็นอันดับแรก 2. การเลือกอำเภอเสี่ยงสูง ส่วนกลางจะคัดข้อมูลให้ และให้ สคร.วิเคราะห์เพื่อเลือกอำเภอเสี่ยงสูงเอง พร้อมส่งผลการวิเคราะห์ตามแบบฟอร์ม ส่งให้สำนักโรคไม่ติดต่อ เพื่อรวบรวมในภาพของประเทศ

จำนวนอำเภอเป้าหมายเขต เขต/สคร. จำนวนอำเภอในจังหวัด จำนวนอำเภอเสี่ยงสูง อันดับ 1 ของจังหวัด จำนวนอำเภอที่เหลืออีก 30% ขั้นตอนที่ 3 รวมจำนวนอำเภอที่ดำเนินการ D-RTI ในเขตสุขภาพ ขั้นตอนที่ 4 จำนวนอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นนำไป คิดเป็น 50% ของขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 5 จำนวนอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดีขึ้นไปที่มีผู้บาดเจ็บและผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง คิดเป็น 30% ของขั้นตอนที่ 4 ประเทศ 878 76 246 322 161 50 สคร. 1 103 8 29 37 19 6 สคร. 2 47 5 13 18 9 3 สคร. 3 54 15 20 10 สคร. 4 70 27 14 สคร. 5 62 17 25 4 สคร. 6 69 สคร. 7 77 22 26 สคร. 8 87 7 24 31 16 สคร. 9 88 30 สคร. 10 สคร. 11 74 21 28 สคร. 12

การชี้เป้าอำเภอเสี่ยงสูง ใช้ฐานข้อมูล 2 ฐาน ได้แก่ ข้อมูลมรณบัตรปี ปฏิทิน 2558 – 2559 ขัอมูลบริษัทกลางคุ้มครองผู่ประสบภัยจากรถ จำกัด ปฏิทิน 2558 – 2559 ประชาการกลางรายอำเภอ ปี 2558 สรุปผลการเสียชีวิตและการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ระดับอำเภอ การพิจาณาเลือกอำเภอเสี่ยงสูง รายจังหวัด - พิจารณาอำเภออันดับที่ 1 ของแต่ละจังหวัด ทั้ง มรณะบัตร และ บ.กลางฯ - ถ้าเท่าๆ ให้พิจารณา เลือก อันดับที่ 1 ของ บ.กลางฯ ก่อน - การพิจารณาอำเภอเสี่ยง ควรปรึกษาจังหวัด (สสจ.) เพื่อให้เข้าใจ ตรงกัน

การสนับสนุนการดำเนินงาน D-RTI การขับเคลื่อนเชิงนโยบาย ผ่านผู้บริหารและหนังสื่อสั่งการของสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข บรรจุเป็นประเด็นตรวจราชการ (รอบที่ 1 และ 2) บูรณาการกับ District Health Board: DHB/พชอ. จัดกิจกรรมเวทีเสริมพลังแก่หน่วยงานในพื้นที่ มอบโล่แก่อำเภอที่ ดำเนินการผ่านเกณฑ์ระดับ Advanced ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2560 และ กิจกรรมถ่ายทอดนโยบาย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best Practice จัดทำคู่มือ/แนวทางสนับสนุนการดำเนินงานของพื้นที่ หนังสือแนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บทางถนนในระดับพื้นที่ แนวทางการประเมิน D-RTI จัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลที่ประกอบด้วยหลายภาคส่วน กิจกรรมเสริมพลังให้แก่อำเภอที่ดำเนินการในระดับ Advanced ปี 2561 ขับเคลื่อนและสนับสนุนการดำเนินผ่านศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน

THANK YOU