ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน
Advertisements

ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
What is MEQ Workshop on “MEQ Examination for Preclinical Years”
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
เวชจริยศาสตร์และการคิดเชิงวิพากษ์
เพศศึกษา ในศตวรรษที่ 21.
การผลิตบัณฑิตกับวิชาการสายรับใช้สังคม
ผศ.ดร.อังสนา บุญธรรม ภาควิชาอนามัยชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
Active Learning ผศ. ดร. เยาวเรศ ภักดีจิตร ภาควิชาหลักสูตร และการสอน.
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
นิเทศทัศน์ Visual communication.
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
กฎหมายการศึกษาไทย.
Student activity To develop in to the world community
การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking- AT)
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
สมรรถนะ (Competency) สมรรถนะ (Competency) โดย รศ.สุรชัย ขวัญเมือง
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
หลักการสัมมนา ความหมาย เป้าหมายและวัตถุประสงค์ องค์ประกอบของการสัมมนา.
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
CLIL & APPLICATIONS เมื่อต้องการเปลี่ยนรูปภาพบนสไลด์นี้ ให้เลือกรูปภาพ แล้วลบออก จากนั้น คลิกไอคอนรูปภาพในพื้นที่ที่สำรองไว้เพื่อแทรกรูปภาพของคุณ.
นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ)
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
TQS : Total Quality Service การบริการคุณภาพทั่วองค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4) Active Learning ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)

Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา Critical thinking and problem solving Creativity and innovation Collaboration, teamwork, and leadership Cross-cultural understanding Communication, information, and media Computing and ICT Career and learning self- reliance อ่านออก ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม เขียนได้ ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ มีความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ คิดเลขเป็น ทักษะการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้

COMPETENCIES FOR 21st CENTURY ความสามารถของคนในศตวรรษที่ 21 ค่านิยมระดับจิตวิญญาณ PERSONAL SPIRIT การคิด THINKING การแก้ปัญหา PROBLEM SOLVING 5 SCORE COMPETENCIES การสื่อสาร COMMUNICATION การทำงานเป็นทีม TEAMWORK

Active Learning

Active Learning การเรียนรู้แบบลงมือทำ(ปฏิบัติ) กระบวนการเรียนการสอนอย่างหนึ่ง แปลตามตัวก็คือเป็นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือ การลงมือทำซึ่ง “ความรู้” ที่เกิดขึ้นก็เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์  ต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้การเรียนรู้โดยการอ่าน, การเขียน, การโต้ตอบ, และการวิเคราะห์ปัญหา อีกทั้งให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ประเมินค่าและความคิดสร้างสรรค์

“เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ในการนี้ ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ข้อความรู้แก่ผู้เรียนโดยตรงลง แต่ไปเพิ่มกระบวนการและกิจกรรมที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการจะทำกิจกรรมต่างๆ มากขึ้น และอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การอภิปรายกับเพื่อนๆ” 

ระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทำให้ผู้เรียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทนได้มาก และนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรียนรู้ Active Learning สอดคล้องกับการทำงานของสมองที่เกี่ยวข้องกับความจำ โดยสามารถเก็บและจำสิ่งที่ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์ กับเพื่อน ผู้สอน สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติจริง จะสามารถเก็บจำในระบบความจำระยะยาว (Long Term Memory) ทำให้ผลการเรียนรู้ ยังคงอยู่ได้ในปริมาณที่มากกว่า ระยะยาวกว่า

Learning Pyramid 5% 10% 20% 30% 50% 75% 90% 100% ความรู้ที่เหลือ (Average Retention Rate) ฟังบรรยาย Lecture 5% อ่านเอง เห็น จำได้ระยะสั้น 10% Reading ใช้สื่อและภาพ เสียง 20% Audio - Visual จำตามแบบ ดู สาธิต Passive Learning 30% Demonstration อภิปรายกลุ่ม ทำงานกลุ่ม ทีม ทำงานกลุ่ม ทีม Active Learning 50% Discussion Group สร้างความรู้ เรียนจากลงมือปฏิบัติ 75% Practice by Doing เข้าใจหลังคิด-ทำ สอนผู้อื่น / นำเสนอ เสนอสาธารณะ เสนอสาธารณะ 90% Teach Others / Immediate Use วิจัยค้นคว้า พัฒนาได้เอง วิจัย เข้าใจ รู้แท้ 100% Research & Development

Learning Pyramid 5% 10% 20% 30% ความรู้ที่เหลือ (Average Retention Rate) ฟังบรรยาย Lecture 5% อ่านเอง เห็น จำได้ระยะสั้น Reading 10% ใช้สื่อและภาพ เสียง 20% Audio - Visual จำตามแบบ ดู สาธิต Passive Learning 30% Demonstration Content-based Curriculum หลักสูตรเน้นเนื้อหา ครูเริ่มสอนจากทฤษฎี ให้นักเรียนนำไปใช้ Passive Learning ไม่มีกระบวนการสร้างความรู้ ไม่มีกิจกรรมที่นำสู่ผล ไม่มีร่องรอยหลักฐานพัฒนาผู้เรียน ไม่บรรลุตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นสังคมผู้บริโภคมากกว่าสังคมผู้ผลิต

กระบวนการเรียนรู้ 50% 75% 90% 100% Standard-based Curriculum หลักสูตรเน้นมาตรฐาน เชื่อมโยงศตวรรษที่ 21 นักเรียนเรียนจากการปฏิบัติ ไปสู่การตั้งทฤษฏี Active Learning หลอมรวมเนื้อหา มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด Backward Design ผู้เรียนสร้างความรู้เอง เป็นสังคมผู้ผลิตมากกว่าสังคมผู้บริโภค กระบวนการเรียนรู้ อภิปรายกลุ่ม ทำงานกลุ่ม ทีม ทำงานกลุ่ม ทีม Active Learning 50% Discussion Group สร้างความรู้ เรียนจากลงมือปฏิบัติ 75% Practice by Doing เข้าใจหลังคิด-ทำ สอนผู้อื่น / นำเสนอ เสนอสาธารณะ เสนอสาธารณะ 90% Teach Others / Immediate Use วิจัยค้นคว้า พัฒนาได้เอง วิจัย เข้าใจ รู้แท้ 100% Research & Development

สอนตามแนว Backward Design การปฏิบัติการสอนที่ไม่บรรลุเป้าหมาย เริ่มจาก ทฤษฎี อธิบาย เข้าใจแบบ อ่านเอาเรื่อง ปฏิบัติ ไม่ได้ ออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ ความรู้ ความคิด รวบยอด หลักการ ทฤษฎี เข้าใจจาก หลังคิด หลังทำ ลงมือคิด ลงมือทำ เริ่มจาก ปฏิบัติ

ประเมินตามแนว Backward Design (BwD) จำเป็นต้องใช้ชิ้นงาน ผลงานมาประเมิน การแสดงออกของผู้เรียนมาใช้ประเมิน ส่วนการตรวจสอบคุณภาพความรู้ ต้องอาศัยคำอธิบายระดับคุณภาพ หรือมิติคุณภาพโดยใช้เกณฑ์ Rubrics

การตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน 1 กรอบความคิด แนวคิด 2 แผนขั้นตอนปฏิบัติ 3 บันทึกระหว่างปฏิบัติ 4 ผลคุณภาพปลายทาง

โทรเลขถึงแม่ "ขอเงินซื้อชุดใหม่ ชุดที่มีใส่เที่ยวกับแฟนครบหมดแล้ว” จากลูก …………………………… โทรเลขถึงลูก "หาแฟนใหม่ ใส่ชุดเดิม” จากแม่

การตั้งคำถามตาม แนวทาง Blooms’ Taxonomy Cognitive Domain

3 in 1 Integrated บูรณาการการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียน ตรงตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ เทคโนโลยี สมรรถนะสำคัญ กลุ่มสาระ รายวิชา การสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา เนื้อหา สาระความรู้ ทักษะชีวิต กระบวนการเรียนรู้แกน

GPAS 5 STEPS Active Learning ครอบคลุมวิธีการเรียนการสอนการเรียนรู้ด้วยการค้นพบ (Discovery Learning) การเรียนรู้จากปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) การเรียนรู้จากการสืบค้น (Inquiry-Based Learning) โครงงาน (Project Based Learning)…. GPAS 5 STEPS

โครงสร้างทักษะกระบวนการคิด Gathering การรวบรวม คัดเลือกข้อมูล Processing การจัดกระทำข้อมูล Applying การประยุกต์ใช้ความรู้ Self-Regulating การกำกับตนเอง

การรวบรวมข้อมูล (Gathering) เริ่มจากคำถามเพื่อกระตุ้นผู้เรียนให้สังเกต สงสัย กระตุ้นความสนใจ ตระหนักในปัญหา ตั้งสมมติฐาน ตั้งข้อสงสัย เพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาดัดเลือกและจัดเก็บเพื่อนำไปสู่การกระทำให้เกิดความหมายต่อไป

การจัดกระทำข้อมูล (Processing) เป็นการกระทำข้อมูล โดยใช้แผนภาพความคิดมาช่วยจัดความคิดให้เป็นระบบ เช่น การจำแนก จัดลำดับ เชื่อมโยงสัมพันธ์ และเชื่อมโยงสู่โครงสร้างความดี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมเชิงบวก นำไปสู่การออกแบบ สร้างทางเลือก ตัดสินใจ และวางแผนขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ เพื่อนำไปสู่ความสำเร็จ

ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge) เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงาน และลงมือทำจริง โดยมีการตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาให้เกิดผลดีกว่าเดิมในแต่ละขั้นตอน สรุปเป็นความรู้ ความคิดรวบยอด แบบแผนหลักการ และนำกระบวนการ ทักษะ และหลักการไปขยายความรู้สู่ท้องถิ่นและสังคมที่กว้างไกลออกไปจนถึงระดับโลก

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill) นำร่องรอยการคิด การคิดสร้างสรรค์ที่หลอมรวมคุณธรรม ค่านิยมเชิงบวก ร่องรอยการทำงาน การแก้ปัญหาจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพกว่าเดิม มีคุณค่ามากกว่าเดิม จนสามารถสรุปเป็นหลักการ นำเสนอเป็นรายงาน การอภิปราย การบรรยาย เอกสารเผยแพร่ จัดทำเป็น Video Presentation หรือเผยแพร่ผ่าน Website

ขั้นประเมินผลเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและ จิตสาธารณะ (Self – Regulating) เป็นการพัฒนาการเชิงระบบเพื่อให้เห็นจุดอ่อน จุดแข็งของกลไก ทีมงานและตนเอง เพื่อปรับปรุงแก้ไขและปรับเพิ่มคุณค่าด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ขยายประโยชน์ คุณค่าให้ถึงสังคมทุกมิติ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม ความเป็นพลเมือง ความเป็นพลโลก สิ่งแวดล้อม จนตกผลึกเป็นตัวตนกลายเป็นบุคลิก มีเหตุผลรักษ์สิ่งแวดล้อม สังคม ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ตรงตามสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และตัวชี้วัดครอบคลุมทั้งหลักสูตรแกนกลาง หลักสูตร รร.มาตรฐานสากล และความเป็นพลโลกในศตวรรษที่ 21 อย่างสมบูรณ์

การรวบรวมข้อมูล (Gathering) กำหนดประเด็นในการรวบรวมข้อมูล (Focusing Skills) กำหนดเป้าหมาย (Goal Setting) สังเกตด้วยประสาทสัมผัส (Observing) รวบรวมข้อมูลจากการสังเกต (Collecting) เลือกข้อมูลมาใช้ (Selecting) บันทึกข้อมูล (Encoding & Recording) ดึงข้อมูลเดิมมาใช้และย่อความ

การจัดกระทำข้อมูล (Processing) จำแนก (discriminating) เปรียบเทียบ (comparing) จัดกลุ่ม (classifying) จัดลำดับ (sequencing) สรุปเชื่อมโยง (connecting) ไตร่ตรองด้วยเหตุผล (reasoning) วิจารณ์ (criticizing) / ตรวจสอบ (verifying)

การประยุกต์ใช้ (Applying) ประเมินทางเลือก (alternative assessment) เลือกทางเลือก (Selecting alternatives) ใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ (creative) ขยายความรู้ให้รู้จริงมากขึ้น (expanding scenario) การวิเคราะห์ (analysis) การสังเคราะห์ (synthesis) การตัดสินใจ (decision making) การนำความรู้ไปปรับใช้ (transferring) การแก้ปัญหา (problem solving) การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ (critical thinking) การคิดสร้างสรรค์ (creative thinking)

การประยุกต์ใช้ (Applying) สื่อสารและนำเสนอ สื่อสารเรื่องราว ขั้นตอนการทำงาน ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะให้ผู้ที่สนใจสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ โดยวิธีการสื่อสารด้วยคำพูด หรือประกอบการนำเสนอโดยใช้อุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยี ต่างๆ ตามความเหมาะสม

การกำกับตนเอง (Self-regulating) การตรวจสอบและควบคุมการคิด (Meta Cognition) การสร้างค่านิยมการคิด (Thinking Value) การสร้างนิสัยการคิด (Thinking Disposition) ประโยชน์ต่อตนเอง ประโยชน์ต่อสังคม ประโยชน์ต่อชุมชน ประโยชน์ต่อประเทศชาติ / โลก

Gathering Processing Applying Self -regulating

2 Explore Think 1 3 Unit Plan /ETIA Investigate Act 4

กิจกรรมขั้น เก็บข้อมูล/ค้นคว้าGathering/Explore 1.กำหนดเป้าหมาย 2.ใช้ประสาทสัมผัสผสานกระบวนการกลุ่มร่วมเรียนรู้ อ่าน สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ฟัง ดูตัวอย่าง ชมการสาธิต นิทรรศการ ทดลอง ฯลฯ 3.เลือกข้อมูลสำคัญ สอดคล้องเป้าหมาย 4.บันทึกเป็นผังกราฟิก

กิจกรรมขั้นจัดกระทำข้อมูล/คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ Processing/critical Thinking ถามให้คิดวิเคราะห์ อภิปราย แสดงความคิดเห็น สร้างข้อสรุป ความคิดรวบยอด หลักการ จำแนก (discriminating) เปรียบเทียบ (comparing) จัดกลุ่ม (classifying) จัดลำดับ (sequencing) สรุปเชื่อมโยง(connecting) ไตร่ตรองด้วยเหตุผล (reasoning) วิจารณ์ (criticizing) ตรวจสอบ (verifying)

กิจกรรมขั้นปะยุกต์ใช้(วางแผนปฏิบัติ) Applying 1/Investigate การกำหนดปัญหา การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ ประเมินทางเลือก เลือกทางเลือก การตัดสินใจ การสังเคราะห์ ใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ ถามให้คิดเชิงเหตุผล ผลกระทบ คิดเป็นระบบ คิดตัดสินคุณค่า ประเมิน ตัดสินใจ

กิจกรรมขั้นประยุกต์ใช้(ลงมือปฏิบัติ) Applying 2/ACT เข้าใจแบบ ทำตามแบบ ทำเองเทียบกับแบบ ฝึกให้ชำนาญ ทำเป็นนิสัย สังเคราะห์ ปรับปรุงแบบ สร้างสรรค์ใหม่ การนำความรู้ไปปรับใช้ (transferring) การแก้ปัญหา (problem solving) ขยายความรู้ให้รู้จริงมากขึ้น (expanding scenario) การคิดสร้างสรรค์ (creative thinking)

กิจกรรมขั้นประเมินเพิ่มคุณค่า Self-Regulating การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (social service activity)

การจัดหน่วยการเรียน บูรณาการกับวิถีชีวิต บูรณาการหลายกลุ่มสาระ บูรณาการระหว่างสองกลุ่มสาระ หลายสาระในกลุ่มสาระเดียวกัน หน่วยการเรียนที่มีเฉพาะสาระเดียว

ความสัมพันธ์ของสาระการเรียนรู้และหน่วยการเรียน สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต 1 ชีวิตพืชและสัตว์ สิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต สิ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโต - การตอบสนองต่อสิ่งเร้า 3 เราเติบโตได้อย่างไร ร่างการของเราเตอบโต ได้อย่างไร อาหารที่เรารับประทาน การตอบสนองต่อสิ่งเร้า สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร 2. ปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ ดินมีประโยชน์อย่างไร มาปลูกต้นไม้กันเถอะ ดูแลสัตว์เลี้ยง 4 ของเล่นของใช้ ของเล่นของใช้ทำด้วยอะไร ของเล่นของใช้มีประโยชน์ อย่างไร ประดิษฐ์ของเล่นของใช้ สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่ สาระที่ 5 : พลังงาน สาระที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 5 สนุกกับแม่เหล็กไฟฟ้า แม่เหล็กมีพลัง พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด และปลอดภัย สาระที่ 7 : ดาราศาสตร์และอวกาศ สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กระบวนการเรียนการสอนการงานอาชีพGpas Gathering สืบสานเรียนรู้คู่ คุณธรรม ศึกษารวบรวมข้อมูล Processing ตรวจประเมินค่าผลงาน เพิ่มพูนประสบการณ์ Applying S G Self -regulating ผลิตภัณฑ์ ล้ำหน้า วิเคราะห์งาน ถ้วนถี่ A P Group-process Co-operative Value-clarification Sufficiency Econ. จัดแผนงานสร้างสรรค์ มีข้อสรุป หลักปฏิบัติ

กระบวนการเรียนการสอนทัศนศิลป์ Gpas Gathering สืบสานเรียนรู้คู่ คุณธรรม ศึกษารวบรวมข้อมูล Processing ตรวจประเมินค่าผลงาน เพิ่มพูนประสบการณ์ Applying S G Self -regulating ผลิตภัณฑ์ ล้ำหน้า วิเคราะห์งาน ถ้วนถี่ A P Group-process Co-operative Value-clarification Sufficiency Econ. จัดแผนงานสร้างสรรค์ มีข้อสรุป หลักปฏิบัติ

Gpas กับ ความเข้าใจ/คิดคำนวณ/แก้โจทย์ปัญหา Gathering ผสมผสาน ให้เหมาะเจาะ เฉพาะตน ทบทวนความรู้เดิม Processing ประเมินผลความรู้วิธีการ เพิ่มเติมความรู้ใหม่ Applying S G Self -regulating ฝึกฝนซ้ำสร้างทักษะ คิดวิเคราะห์ความเข้าใจ A P พัฒนา ความเข้าใจ ให้ลงมือทำ Group-process Co-operative Value-clarification Sufficiency Econ. ได้หลักคิด วิธีปฏิบัติ

กระบวนการเรียนการสอนสุขศึกษา Gpas Gathering ผดุงสุขภาพ ยืนนาน ศึกษารวบรวมข้อมูล Processing ประเมินซ้ำปรับปรุง เพิ่มพูนประสบการณ์ Applying S G Self -regulating มุ่งมั่นลงมือทำ วิเคราะห์งาน ถ้วนถี่ A P Group-process Co-operative Value-clarification Sufficiency Econ. จัดแผนงานสร้างสรรค์ มีข้อสรุป หลักปฏิบัติ

( Research and Knowledge Formation ) การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS ) IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ( Research and Knowledge Formation ) Gathering 5 STEPS :

1 ๑. ๒. ๓. ๔. เริ่มจากคำถามให้สังเกต สงสัย Gathering 5 STEPS : 1 ๑. เริ่มจากคำถามให้สังเกต สงสัย ๒. เริ่มจากคำถาม กระตุ้นความสนใจ ๓. เริ่มจากคำถาม ให้ตระหนักในปัญหา ๔. ส่งผลให้ผู้เรียนตั้งข้อสงสัย มีเหตุผล

๕. ๖. ๗. ๘. ส่งผลให้เกิดการ ตั้งสมติฐาน สร้างประสบการณ์รวบรวมข้อมูล ความสามารถในการคัดเลือกข้อมูล ๘. ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูล

2 ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ขั้นคิดวิเคราะห์ : แผนภาพความคิด 5 STEPS : Processing ๑. ขั้นคิดวิเคราะห์ : แผนภาพความคิด ๒. ขั้นคิดสังเคราะห์ : แผนภาพความคิด ๓. คิดเพิ่มคุณธรรมอย่างมีเหตุผล ๔. คิดเพิ่มจริยธรรมอย่างมีเหตุผล ๕. คิดเพิ่มค่านิยมอย่างมีเหตุผล

๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. คิดสร้างสรรค์ พัฒนาให้ดีกว่าเดิม คิดออกแบบหลาย ๆ แบบ คิดสร้างทางเลือกแนวปฏิบัติ ๙. คิดตัดสินใจเลือกแนวที่นำสู่ผล ๑๐. คิดสู่การวางแผน เพื่อลงมือทำ

3 ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ขั้นวางแผนจัดลำดับขั้นตอนงาน ลงมือทำตามแผน 5 STEPS : Applying ๑. ขั้นวางแผนจัดลำดับขั้นตอนงาน ๒. ลงมือทำตามแผน ๓. ตรวจสอบทุกขั้นตอน แก้ปัญหา ๔. ปรับปรุง พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๕. สร้างเป็นความรู้จากผลผลิต

๖. ๗. ๘. ๙. พัฒนาต่อเนื่องเป็นนวัตกรรม สรุปเป็นความคิดรวบยอด สร้างเป็นหลักการ สรุปเป็นองค์ความรู้ด้วยตนเอง ๖. ๗. ๘. ๙.

4 มุ่งให้ผู้เรียนนำความรู้ อันเกิดจากกระบวนการมานำเสนอ Applying 5 STEPS : 4 มุ่งให้ผู้เรียนนำความรู้ อันเกิดจากกระบวนการมานำเสนอ นำเสนอจาก After Action Review พัฒนาวิธีการถ่ายทอดจากแบบแผน สื่อสารจากสิ่งที่เข้าใจ สื่อสารจากสิ่งที่มีความหมาย

IS2 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 4 (Independent Study : IS ) การสื่อสารและการนำเสนอ ( Communication and Presentation ) Applying 5 STEPS : 4

เห็นภาพตลอดแนว ๑. จากข้อมูลสู่การคิด ๒. จากการคิดสู่การเพิ่มความดีงาม จากการคิดสู่การปฏิบัติ จากการปฏิบัติสู่ผล เห็นการพัฒนา ๑. ๒. ๓. ๔.

มีเทคนิคการนำเสนอหลากหลายรูปแบบ การทำรายงาน อภิปราย นำเสนอ ทำ Power point , VDO Presentation ต้องเหมาะสมกับกลุ่ม อย่างมีประสิทธิภาพ ๑. ๒. ๓.

IS3 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 5 (Independent Study : IS ) การนำองค์ความไปใช้บริการสังคม ( Social Service Activity ) Self-Regulating 5 STEPS : 5

5 มุ่งให้นำหลักการหรือองค์ความรู้ ๑. ขยายความรู้ไปสู่สังคม ท้องถิ่น ๒. 5 STEPS : Self-Regulating มุ่งให้นำหลักการหรือองค์ความรู้ ๑. ขยายความรู้ไปสู่สังคม ท้องถิ่น ๒. ขยายความรู้ไปสู่ระดับประเทศ ๓. ขยายไปสู่สังคมนา ๆ ประเทศ

เป็นองค์ความรู้ที่มีหลักการ การคิดอย่างมีคุณธรรม ค่านิยม การตัดสินใจมี mind map การปฏิบัติประโยชน์ถึงสังคม ๑. ๒. ๓.

ตกผลึกเป็นจิตสาธารณะ (Public Service) จิตอาสา เสียสละเพื่อสังคม รักษ์ธรรมชาติ เพื่อเศรษฐกิจ โลก ๑. ๒. ๓.

๑. ๒. ๓. ๔. มิติการคิดวิเคราะห์ + ค่านิยม มิติคุณธรรม + ค่านิยม 5 STEPS : Rubrics ๑. มิติการคิดวิเคราะห์ + ค่านิยม ๒. มิติคุณธรรม + ค่านิยม ๓. มิติจริยธรรม + ค่านิยม ๔. มิติทักษะ กระบวนการ + ค่านิยม

62 62 62