งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์

3 สรุปตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางต้องรู้และควรรู้
ชั้น ตัวชี้วัดทั้งหมด ต้องรู้ ควรรู้ ป.1 32 9 23 ป.2 34 25 ป.3 39 8 31 ป.4 38 13 ป.5 37 18 19 ป.6 24 15 ม.1 45 22 ม.2 44 30 14 ม.3 49 ม.4-6 63 35 28 รวม 420 199 221

4 ตัวชี้วัดต้องรู้ หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้และผู้เรียนทุกคนจำเป็นต้องเรียนรู้ โดยมีการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัดและประเมินผล เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนระดับชั้นเรียนและระดับประเทศ

5 ตัวชี้วัดควรรู้ หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ซึ่งสะท้อนถึงมาตฐานการเรียนรู้ และผู้เรียนทุกคนควรเรียนรู้ โดยผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ หรือศึกษาได้ด้วยตนเอง หรือศึกษาจากสิ่งรอบตัวและชีวิตประจำวัน ซึ่งสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมได้จากกิจกรรมเสริมประสบการณ์ต่างๆ และเป็นเกณฑ์สำหรับการวัดและประเมินผล เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนระดับชั้นเรียน

6 ตัวอย่างกิจกรรม Action Learning
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย ตัวชี้วัด ส 4.3 ม.3/3 3. วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ และอิทธิพลต่อการพัฒนาชาติไทย

7 ตัวอย่าง “กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม”
“ภูมิปัญญาน่ารู้”

8 การเชื่อมโยงความรู้จากอดีตสู่ปัจจุบัน
ขั้นที่ 1 G : Gathering การเชื่อมโยงความรู้จากอดีตสู่ปัจจุบัน การถ่ายทอดความรู้ นำมาปรับใช้ในวิตประจำวัน ความหมาย คุณค่า ภูมิปัญญา ประโยชน์ - ชุมชน สังคม ประเทศ โลก วิเคราะห์วิวัฒนาการของ ภูมิปัญญาแต่ละยุคสมัย แนวทางการอนุรักษ์และสืบทอด ประเภทของภูมิปัญญา

9 ขั้นที่ 2 P : Processing ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาน่ารู้
วัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ อาหาร การแต่งกาย มารยาท การไหว้ การพูด การสืบทอดความรู้/เผยแพร่ในชุมชน การสาธิต การบอกต่อ ตำนาน /เรื่องเล่า การบันทึกข้อมูล การปฏิบัติสืบต่อกันมา ความเชื่อ ความศรัทธา ภูมิปัญญาชาวบ้าน 1.ปลูกกล้วยไม้ 2. เบญจรงค์ 3. น้ำปลา 4. งานสาน 5. สมุนไพร 6. บุคคลสำคัญในชุมช 7. การประมง 8. หมอพื้นบ้าน 9. บุคคลสำคัญ ภูมิปัญญาน่ารู้ ภูมิปัญญา ความรู้ ความสามารถ ทักษะและเทคนิคการตัดสินใจผลิตผลงานของบุคคล อันเกิดจากการสะสมองค์-ความรู้ทุกด้านที่ผ่านกระบวนการสืบทอดพัฒนาปรับปรุง และเลือกสรรมาแล้วเป็นอย่างดีสามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยได้ อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย ความสำคัญของ ภูมิปัญญา/ประโยชน์ ประวัติความเป็นมาของชุมชน

10 “ทำเนียบภูมิปัญญา ณ บ้านเกิด” A1
ขั้นที่ 3 A1 : Applying 1. ศึกษา สำรวจ ข้อมูลภูมิปัญญาชาวบ้านในชุมชน 2. แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ “ทำเนียบภูมิปัญญา ณ บ้านเกิด” A1 3. ดำเนินการจัดทำเนียบบุคคลสำคัญในชุมชนตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ (ประวัติ ผลงาน ความสามารถพิเศษ ความภูมิใจ......)

11 ขั้นที่ 4 A2 : Applying นำเสนองาน นำเสนอ ppt คลิป VDO แผนผัง / กราฟ
Website นำเสนองาน คลิป VDO แผนผัง / กราฟ E-book การรายงาน ภาพประกอบ

12 ขั้นที่ 5 S : Self-regulating
ตัวเอง : ได้ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภูมิปัญญาชาวบ้านในชุมชน เกิดเจตคติที่ดีต่อชุมชนที่ตนอาศัย ได้ฝึกการทำงานร่วมกับคนอื่น ชุมชน : ขยายความรู้ไปสู่ชุมชนอื่นๆ : เผยแพร่ส่งเสริมภูมิปัญญาชาวบ้านให้คงอยู่ในชุมชน : เกิดความตระหนักและความสำคัญในการส่งเสริมองค์ความรู้ในชุมชนให้คงอยู่ต่อไป ทำเนียบ ภูมิปัญญา โรงเรียนและชุมชน : มีทำเนียบบุคคลสำคัญ /ภูมิปัญญาชาวบ้านที่เป็นรูปธรรม / กลายเป็นมรดกไทย / มรดกโลก


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google