สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
Advertisements

โครงการสหกิจศึกษา สัมพันธ์ ศิลปนาฎ Cooperative Education Program
แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
พัฒนาบุคลากร (Human Resources Development)
โดย อาจารย์ ดร.มาเรียม นิลพันธุ์
Creative Thinking : ความคิดสร้างสรรค์
รวบรวมโดย นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์, Ph.D.
การเสนอผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1 สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อ่างทอง ผลการปฏิบัติงาน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2555 ข้อมูล ณ เมษายน 2555 ริเริ่มสร้างสรรค์ มุ่งมั่นฟันฝ่า พัฒนาสหกรณ์ Creative Thinking.
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
สพป. พช.3 ป.3. นักเรียนชั้น ป.3 สังกัด สพฐ. / ตำรวจ ตระเวน ชายแดน ด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) กลุ่มเป้า.
รูปแบบการพัฒนาและส่งเสริมผู้มี
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป้าหมายและตัวชี้วัดด้านผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
การคิดอย่างมีเหตุผล (Logical Thinking)
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษานานาชาติ
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ก.พ.อ. 03 : ก้าวแรกสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
11 May 2014
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
บทที่ 8 เครื่องมือการวิจัย
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว
จุดประสงค์การเรียนรู้
บทที่ 3 ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
การพัฒนาทักษะการคิด ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ เลขาธิการมูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ และประธาน Chira Academy ณ ห้องพุทธรักษา สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์
Mindfulness in Organization : MIO
งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน สถานการณ์ปัญหาที่ 1
กฎหมายการศึกษาไทย.
การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking- AT)
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
Training & Development
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
นโยบายการบริหาร นักเรียน นักศึกษา มีวินัยและจรรยาบรรณ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
ความเข้าใจและการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy)
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
Career Path บุคลากรสายงานกิจการนิสิต
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร
แนวทางการปรับปรุงการทำงาน ด้านการส่งเสริมการผลิตข้าว ปีงบประมาณ 2561
แนวคิดจิตสาธารณะในมิติเยาวชน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
13 October 2007
การวิจัยทางธุรกิจ Business Research
คิดบวก ชีวิตบวก Positive Thinking, Positive Life
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
Pattern Blocks.
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
รายวิชา ISC2101 ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
แนวคิดเชิงนามธรรม Abstraction Abstract Thinking.
บทที่ 3 การเตรียมดำเนินโครงการ
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
News Update เกษตรท่าม่วง
การให้การปรึกษาวัยรุ่น
GSC151 ชีวิตและสภาพแวดล้อมในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง
News Update เกษตรท่าม่วง ประชุมสมัยสามัญ อบต.บ้านใหม่
TQS : Total Quality Service การบริการคุณภาพทั่วองค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) การจัดหลักสูตรสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ โดย ดร.พรชัย อินทร์ฉาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) 1 1

การบริหารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 วิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ (มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงสร้างเวลา วิชาเรียน (พื้นฐาน/เพิ่มเติม) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การออกแบบการจัดการเรียนรู้ - หน่วยการเรียนรู้ - แผนการจัดการเรียนรู้ การวางแผนการจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การปฏิบัติ คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลย์ ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย และเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ.

หลักการ เพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายการพัฒนาเด็กและเยาวชน การศึกษาเพื่อปวงชน เสมอภาค และมีคุณภาพ สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วม มีความยืดหยุ่น เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และ ตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย เทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์.

จุดหมาย 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่น ในวิถีชีวิตและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงาม ในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข.

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ.

กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ.

การวัดและประเมินผล ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับชาติ.

การวัดและประเมินผลการเรียน การตัดสินผลการเรียน เกณฑ์การจบช่วงชั้น

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์.

1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์.

1.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน(ทั่วไป) 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา 4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี.

สมรรถนะสำคัญเฉพาะของผู้เรียน (เน้นผู้เรียนมีความคิดขั้นสูง) สสวท,2546 : 226-227 ความคิดวิเคราะห์(analytical thinking) ความคิดวิจารณญาณ(critical thinking) ความคิดสร้างสรรค์(creative thinking) ความคิดอย่างเป็นเหตุผล(logical thinking) ความคิดเชิงวิทยาศาสตร์(scientific thinking)

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (คุณลักษณะเฉพาะ ตามผลการวิจัย สสวท.2527 โดยได้จัดทำ โครงการ พสวท. ขึ้น) คุณลักษณะของผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ตามแนวของ สสวท.มี 6 คุณลักษณะ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์(คุณลักษณะเฉพาะ) 1. สติปัญญาดี (ผลการเรียนโดยทั่วไปอยู่ในระดับดี ผลการสอบสมรรถภาพในด้านภาษา (verbal) ตัวเลข (numerical) เหตุผล (reasoning) และมิติสัมพันธ์ (spatial relationship) ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้

คุณลักษณะอันพึงประสงค์(คุณลักษณะเฉพาะ) 2. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์อยู่ในระดับสูง 2.1ผลการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์อยู่ในระดับดี 2.2ผลการสอบจากแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์วิชาวิทยาศาสตร์ (ซึ่งประกอบด้วยความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ และทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์) อยู่ในระดับดีมาก 2.3ผลการสอบจากแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ (ซึ่งประกอบด้วย ความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ และการวิเคราะห์) อยู่ในระดับดีมาก

คุณลักษณะอันพึงประสงค์(คุณลักษณะเฉพาะ) 3. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง มีความสามารถกระทำสิ่งใหม่ๆ สามารถค้นคว้าทดลองและเสาะแสวงหาคำตอบหลายๆ วิธี และ/หรือได้คะแนนจากแบบวัดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในระดับดี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์(คุณลักษณะเฉพาะ) 4. มีความสนใจทางวิทยาศาสตร์สูง เช่น สละเวลาให้กับวิทยาศาสตร์มากกว่าอย่างอื่น เข้าร่วมกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยความสมัครใจ ซึ่งพิจารณาได้จากการสังเกตพฤติกรรม และ/หรือคะแนนจากแบบวัดความสนใจทางวิทยาศาสตร์

คุณลักษณะอันพึงประสงค์(คุณลักษณะเฉพาะ) 5. มีทัศนคติเชิงวิทยาศาสตร์ หมายถึง มีความคิดเห็นหรือท่าทีที่แสดงต่อเนื้อหาวิชาและกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ โดยจำเป็นต้องใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ประกอบ ซึ่งพิจารณาได้จากคะแนนจากแบบวัดทัศนคติเชิงวิทยาศาสตร์

คุณลักษณะอันพึงประสงค์(คุณลักษณะเฉพาะ) 6. มีบุคลิกภาพของนักวิทยาศาสตร์ 6.1ความอยากรู้อยากเห็น 6.2มีความขยันหมั่นเพียร อดทนและมุ่งมั่นต่อเป้าหมาย 6.3มีความเชื่อมั่นในตนเอง

รูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ 23 23

1. วิธีเพิ่มพูนประสบการณ์ (Enrichment) 2. วิธีขยายหลักสูตร (Extension) 3. วิธีลดระยะเวลาเรียน (Acceleration) 4. การใช้ผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาดูแล (Mentoring) 5. การจัด Hornors Program 24 24

การสอนแบบเพิ่มพูนประสบการณ์ (Enrichment) เป็นวิธีการจัดการศึกษาแบบขยายกิจกรรม ในหลักสูตรให้กว้างและลึกซึ้งกว่าที่มีอยู่ใน หลักสูตรปกติ เน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ เน้นกระบวนการมากกว่าเนื้อหา 25

การจัดการเรียนการสอน แบบเพิ่มพูนประสบการณ์ จัดกิจกรรม แบบฝึกหัดต่างๆให้เปิดกว้าง อนุญาตให้เด็กเลือกหัวข้อกิจกรรม ปรับวิธีสอนให้เหมาะกับลีลาการเรียนรู้ ฝึกให้เด็กทำโครงงาน แผนที่ความรู้ ฝึกให้เด็กเรียนอะไรลึก กระจ่างแจ้ง ชัดเจน ปรับกิจกรรมในสิ่งที่ผู้เรียนสนใจและพัฒนา ทักษะความคิดระดับสูง 26 26

การสอนแบบเพิ่มพูนประสบการณ์ - ช่วยให้พัฒนาสิ่งที่สนใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น ปูทักษะการเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์ สืบสวน หาความรู้ ความจริง สนับสนุนให้เด็กศึกษาหาความรู้นอกเหนือจาก จุดประสงค์ทั่วไปในการเรียนรู้สำหรับเด็กปกติ 27 27

แนวทางการจัดการศึกษาแบบ Enrichment การศึกษาอิสระ ใช้ชุดการสอน สอนเร่งในบางวิชา สอนเป็นทีม สอนเป็นกลุ่มเล็กๆ บรรยาย / สาธิต ฯลฯ 28

วิธีขยายหลักสูตร (Extension) เป็นการจัดโปรแกรมการศึกษานอกหลักสูตรสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ ที่สามารถตอบสนองความสนใจและเป็นความสามารถเป็นรายบุคคลได้ดี 29 29

ตัวอย่างกิจกรรม การทำโครงการพิเศษ การเรียนในห้องศูนย์แหล่งเรียนรู้ การร่วมกิจกรรมนอกหลักสูตร แคมป์วิชาการ กระตุ้นการอ่านหนังสือเพิ่มเติม 30 30

วิธีลดระยะเวลาเรียน (Acceleration) เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้เกิดความ ยืดหยุ่นทางการศึกษาได้มากขึ้นวิธีหนึ่ง แต่ต้องมีกระบวนการที่ถูกต้องรัดกุม จึงจะเป็นผลดีกับเด็ก 31

วิธีการจัดการศึกษาแบบลดระยะเวลาเรียน - การเข้าเรียนก่อนเกณฑ์อายุหากเด็กมีความพร้อมสูงมาก - ข้ามชั้นเรียน - ให้เรียนในชั้นสูงกว่าบางวิชา - ให้ทำงานในชั้นสูงกว่าแต่เด็กยังอยู่ในชั้นเดียวกับเพื่อน - ย่นหลักสูตรให้เด็กจบเร็วขึ้น โดยมีเนื้อหาเท่าเดิม จัดกลุ่มเด็กที่มีความสามารถเรื่องเดียวกันแต่ต่างชั้น มาเรียนด้วยกัน 32 32

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาในการจัด การศึกษาแบบลดระยะเวลาเรียน - มีความสามารถมากกว่าเด็กวัยเดียวกันอย่างเห็นได้ชัดเจน - มีวุฒิภาวะทางอารมณ์และสังคมเหมาะกับอายุ - มีความที่จะกระหายเรียนรู้ โดยไม่เครียด - พ่อแม่ ผู้ปกครองและโรงเรียนมีความเห็นตรงกัน - ชอบเล่นและคลุกคลีกับเด็กโตมากกว่า 33 33

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาในการจัด การศึกษาแบบลดระยะเวลาเรียน - เด็กมีความพร้อมที่จะแยกจากเพื่อน - ต้องแน่ใจว่าไม่เป็นการตอบสนองความต้องการของ ผู้ใหญ่ที่คาดหวังกับเด็กสูงเกินจริง ต้องมีคนดูแลและรับผิดชอบในการจัดอย่างเป็น ระบบต่อเนื่อง 34 34

การใช้ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ เป็นผู้ให้คำปรึกษาดูแล (Mentoring) เป็นการให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางมาช่วยเด็กที่มีความสามารถโดดเด่น โดยมากมักจะทำในเด็กที่มีความสนใจอย่างเด่นชัดและมีทักษะพื้นฐานทางสังคมดี มีการจัดระบบวิธีเรียนของตนเองได้ดี ซึ่งเด็กสามารถทำงานภายใต้ คำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญพิเศษได้ 35

หลักเกณฑ์ในการจัดการศึกษา  เนื้อหายากและท้าทาย  โยงใยกันหลายๆวิชา  ให้เด็กมีส่วนร่วม  สอนสลับซับซ้อนลึกซึ้ง  เน้นกระบวนการความคิดระดับสูง ให้คุณค่าต่อการเรียนรู้ของเด็ก ที่จะส่งผลดี ต่อสังคม 36 36

น้อย ปานกลาง มาก จำนวนเด็ก/ห้อง อยู่ในชั้นเรียนปกติแต่ให้คำแนะนำเป็นระยะ ๆ อยู่ในชั้นเรียนปกติ แต่ดึงออกจากห้องเรียนเป็นบางครั้ง จัดตารางเรียน ในห้องเรียน Resource Centre ชั้นเรียนพิเศษ โรงเรียนพิเศษ Mentoring น้อย ปานกลาง มาก จำนวนเด็ก/ห้อง อุษณีย์ โพธิสุข (2543 : 116 - 122 ) 37 37

สื่อการเรียนการสอน 1) เน้นกระบวนการทางความคิด 2) น่าสนใจ ท้าทายต่อการเรียนรู้ 3) สามารถตอบสนองต่อศักยภาพการเรียนรู้ 4) มีความหลากหลาย สามารถพัฒนาบุคคลครบทุกด้าน 38 38

สร้างความเข้าใจกับผู้ปกครองและครู 1) ชี้ให้เห็นว่าได้อะไรจากโครงการ, สร้างความมั่นใจ 2) จัดทำคู่มือผู้ปกครอง 3) ชี้แจงหลักสูตร/การจัดการเรียนการสอน 4) สร้างความเข้าใจ/ขอความร่วมมือ 5) ให้กำลังใจ พร้อมชี้แนะ 39 39

การวัดและประเมินผล 1) ใช้วิธีหลากหลายสอดคล้องกับกระบวนการเรียนการสอน 2) คำนึงถึงธรรมชาติของแต่ละศาสตร์เป็นตัวตั้ง 3) สะท้อนศักยภาพและตัวตนที่แท้จริงของเด็กทุกด้าน 40 40

กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการ การวัด ประเมินผล การจัดการศึกษาสำหรับผู้มีความ สามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาตร์และเทคโนโลยี รูปแบบ/วิธีการ หลักสูตร สื่อ กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการ การวัด ประเมินผล