งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว
เอกสารประกอบบรรยาย รายวิชาการพัฒนาหลักสูตรสิ่งแวดล้อมศึกษา ภาคเรียนที่ 1/2558 โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว

2 Assistant Prof DR.ADISAK SINGSEEWO
Faculty of Environment and Resource Studies Mahasarakham University, Thailand, 44150

3 การพัฒนาหลักสูตรและการสอนสิ่งแวดล้อม
[Environmental Curriculum and Teaching Development] ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4 บทที่ 6 การประเมินหลักสูตร
บทที่ 6 การประเมินหลักสูตร ความหมายของการประเมินหลักสูตร ระยะของการประเมินหลักสูตร ลักษณะของการประเมินหลักสูตร ขั้นตอนในการประเมินหลักสูตร เกณฑ์ในการประเมินหลักสูตร รูปแบบของการประเมินหลักสูตร

5 ความหมายของการประเมินหลักสูตร
การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการ ตัดสินหาข้อพบพร่องหรือปัญหา เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุง แก้ไขส่วนประกอบทุกส่วนของหลักสูตรให้มีคุณภาพดีขึ้น หรือ การตัดสินหาคุณค่าของหลักสูตรนั้น

6 ความหมายของการประเมินหลักสูตร
รุจิริ์ ภู่สาระ กล่าวถึงการประเมินหลักสูตร : การวัดผลการปฏิบัติของผู้เรียนตามจุดประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ในเชิง ปริมาณ การเปรียบเทียบพฤติกรรมการปฏิบัติของผู้เรียนและมาตรฐาน การอธิบายและตัดสินเกี่ยวกับหลักสูตร

7 ความหมายของการประเมินหลักสูตร
การอธิบายและการตัดสินใจเกี่ยวกับหลักกสูตรและการเลือกการ วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของหลักสูตร การใช้ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพในการตัดสินใจเกี่ยวกับการนำ หลักสูตรไปใช้

8 ความหมายของการประเมินหลักสูตร
การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ องค์ประกอบ ของหลักสูตร แล้วนำข้อมูลที่ได้มาพิจารณาหาข้อบกพร่อง เพื่อ ทำการปรับปรุงหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ ตรงตามจุดมุ่งหมาย ที่ได้กำหนดไว้ในตัวหลักสูตร

9 ระยะของการประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตร ควร กำหนดเป็นระยะ เนื่องจาก ข้อบกพร่องหรือข้อผิดผลาด อาจมีสาเหตุมาจากปัจจัยและใน ระยะเวลาที่ต่าง ๆ กัน

10 ระยะของการประเมิน การประเมินหลักสูตรก่อนนำไปใช้
เป็นการประเมินตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร(ฉบับร่าง) โดยใช้ ความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้าน เนื้อหาวิชา ด้านวิชาชีพครู และการการวัดและประเมินผล

11 ระยะของการประเมิน การประเมินหลักสูตรระหว่างดำเนินการใช้หลักสูตร
เป็นการประเมิน เพื่อตรวจสอบว่า หลักสูตรสามารถนำ ไปใช้ได้ดีเพียงใด จะเป็นข้อมูลในไปปรับแก้ไขในด้าน ต่าง ๆ เช่น การบริหารจัดการหลักสูตร การนิเทศติดตาม และการจัดกระบวนการเรียนการสอน

12 ระยะของการประเมิน การประเมินหลักสูตรหลังการทดลองใช้
เป็นการประเมินทั้งระบบ เพื่อสรุปผลและตัดสินว่าหลักสูตรที่จัดขึ้น นั้น ควร ดำเนินการใช้ต่อไป ปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น ยกเลิก

13 แนวทางการประเมินหลักสูตร : วิชัย วงษ์ใหญ่
ระยะก่อนโครงการ การสร้างและพัฒนาหลักสูตร ระยะระหว่างโครงการ การนำหลักสูตรไปใช้ ระยะหลังโครงการ การติดตามประเมินหลักสูตรทั้งฉบับ

14 ลักษณะของการประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตรควรประเมินสิ่งต่าง ๆ ดังนี้ การประเมินเอกสารหลักสูตร เพื่อตรวจสอบจุดมุ่งหมาย จุดประสงค์ โครงสร้าง เนื้อหาสาระ วิธีการวัดและประเมินผลนักเรียน ว่า ถูกต้อง เหมาะสม ครอบคลุมเพียงใด ศ ดร เกษม จันทร์แก้ว วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ศ ดร สนิท อักษรแก้ว นิเวศวิทยาป่าชายเลน

15 ลักษณะของการประเมินหลักสูตร
การประเมินการใช้หลักสูตร เป็นการตรวจสอบว่าหลักสูตรสามารถนำไปใช้ได้ดีเพียงใด เพื่อจะได้ปรับปรุงแก้ไข วิธีการประเมินอาจใช้ การสังเกต สัมภาษณ์และสอบถาม แก่ผู้ใช้ ซึ่งได้แก่ ครูผู้สอน ผู้บริหาร ผู้เรียน และผู้ปกครอง

16 ลักษณะของการประเมินหลักสูตร
การประเมินสัมฤทธิผลของหลักสูตร ความรู้ ความสามารถในทางวิชาการด้านต่าง ๆ การประเมิน อาจทำในขณะกำลังทดลองใช้หลักสูตรและการติดตาม ความก้าวหน้าหลังสำเร็จการศึกษา

17 ลักษณะของการประเมินหลักสูตร
การประเมินระบบหลักสูตร เป็นการประเมินหลักสูตรทั้งระบบ คือ การประเมินเอกสารหลักสูตร การใช้หลักสูตร สัมฤทธิผลหลักสูตร เพื่อมองภาพรวมของหลักสูตรทั้งหมด

18 ขั้นตอนในการประเมินหลักสูตร

19 ขั้นตอนในการประเมินหลักสูตร
ขั้นกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน ต้องกำหนดให้ชัด ว่ามีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร ต้องการนำข้อมูล ที่ได้มาทำอะไร เช่น เพื่อ พิจารณาว่าหลักสูตรใช้ได้ผลหรือไม่ ปรับปรุงหลักสูตร ตัดสินหลักสูตรว่าจะใช้ต่อไปหรือไม่

20 ขั้นตอนในการประเมินหลักสูตร
ขั้นวางแผนออกแบบการประเมินผล - กำหนดกลุ่มตัวอย่าง - การกำหนดแหล่งข้อมูล - การพัฒนาเครื่องมือและวิธีการเก็บรวมรวมข้อมูล - การกำหนดเกณฑ์ในการประเมิน - การกำหนดเวลา

21 ขั้นตอนในการประเมินหลักสูตร
ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นรายงานผลการประเมิน

22 เกณฑ์ในการประเมินหลักสูตร
Phi Delta Kappa National Study on Evaluation ได้กำหนดเกณฑ์ในการประเมิน เป็น 3 เกณฑ์คือ เกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ เกณฑ์ทางการปฏิบัติ เกณฑ์ของความคุ้มค่า

23 เกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Criteria)
ความเที่ยงตรงภายใน ความเที่ยงตรงภายนอก ความเชื่อมั่น ความเป็นปรนัย

24 เกณฑ์ทางการปฏิบัติ ตรงตามจุดประสงค์ ความสำคัญ ขอบเขต เชื่อถือได้
การกำหนดเวลาเหมาะสม ใช้ได้แพร่หลาย

25 เกณฑ์ของความคุ้มค่า บุคลากรในโรงเรียน งบประมาณ การจัดการเรียนการสอน เวลา สถานที่/อุปกรณ์

26 รูปแบบของการประเมินหลักสูตร
รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่สร้างเสร็จใหม่ เป็นการประเมินหลักสูตรก่อนนำหลักสูตรไปใช้ เช่น รูปแบบการประเมินหลักสูตรด้วยเทคนิคการ วิเคราะห์แบบปุยแซงค์ (Puissance Analysis Technique)

27 Puissance Analysis Technique
วิเคราะห์องค์ประกอบ 3 ส่วนของหลักสูตรคือ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม กิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล

28 Puissance Analysis Technique
วิธีการวิเคราะห์ เมื่อวิเคราะห์แล้ว นำผลการวิเคราะห์มาในใน ตารางวิเคราะห์ของปุยแซงค์ แล้วคิดคำนวณค่า น้ำหนักคะแนนออกมา โดยใช้สูตร ผลที่ได้ จะ นำมาแปลความหมายว่าหลักสูตรมีคุณภาพใน ระดับใด

29 รูปแบบของการประเมินหลักสูตร
2. รูปแบบการประเมินหลักสูตรระหว่างใช้หรือ หลังใช้หลักสูตร แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มคือ

30 2.1 รูปแบบการประเมินที่ไม่ยึดเป้าหมาย
เป็นรูปแบบการประเมินที่ ไม่นำความคิดของผู้ประเมิน เป็นตัวกำหนด กรอบ ความคิดในโครงการประเมิน ผู้ ประเมินจะประเมินเหตุการณ์ ตามสภาพจริง มีความ อิสระในการประเมินสูง เช่น รูปแบบการประเมิน ของสคริฟเวน (Michael scriven)

31 2.2 รูปแบบการประเมินที่ยึดจุดประสงค์เป็นหลัก
เป็นรูปแบบการประเมิน ที่ประเมินว่าหลักสูตรมีคุณค่า เพียงใด โดยการพิจารณาจากจุดมุ่งหมายของหลักสูตร เป็นหลัก เช่น รูปแบบการประเมินหลักสูตรของไทเลอร์ รูปแบบการประเมินหลักสูตรของแฮมมอนด์

32 2.3 รูปแบบการประเมินที่ยึดเกณฑ์เป็นหลัก
เป็นรูปแบบการประเมินที่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการ ตัดสินคุณค่าของหลักสูตร โดยใช้เกณฑ์เป็นหลัก เช่น รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตค (Robert E.Stake)

33 2.4 รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ช่วยในการตัดสินใจ
เน้นการทำงานอย่างมีระบบเกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนำเสนอผลที่ได้จากการ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารหรือ ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น รูปแบบการประเมินของสตรัฟเฟิลบีม

34 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของไทเลอร์ รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตค รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสตรัฟเฟิลบีม

35 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของไทเลอร์
องค์ประกอบของกระบวนการจัดการศึกษา 3 ส่วน จุดหมายทางการศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การตรวจสอบสัมฤทธิผลของผู้เรียน

36 ความเห็นของไทเลอร์ จุดมุ่งหมายของการประเมินคือ - เพื่อตัดสินว่าจุดมุ่งหมายทางการศึกษา ประสบผลสำเร็จ หรือไม่ ส่วนที่ประสบผลสำเร็จเก็บไว้ ส่วนใดไม่ประสบ ผลสำเร็จจะปรับปรุงแก้ไขต่อไป - เพื่อประเมินความก้าวหน้าทางการศึกษา ใช้เป็นแนวทาง ในการปรับปรุงนโยบายทางการศึกษาต่อไป

37 ขั้นตอนการเรียนการสอน และการประเมินผลหลักสูตรของไทเลอร์
ขั้นตอนการเรียนการสอน และการประเมินผลหลักสูตรของไทเลอร์

38 การประเมินตามแนวคิดของไทเลอร์ ยึดความสำเร็จของ ผู้เรียนเป็นเกณฑ์ในการตัดสิน โดยอาศัยพฤติกรรมก่อน เรียนและหลังเรียน การประเมินแบบนี้ เป็นการประเมิน สรุปผล(Summative Evaluation) มากกว่าการ ประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation)

39 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตค
มีข้อมูลที่ควรพิจารณาในการประเมินหลักสูตร 3 ด้าน คือ ด้านสิ่งที่มีมาก่อน ด้านกระบวนการเรียนการสอน ด้านผลผลิต

40

41 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสตรัฟเฟิลบีม
ประเมินข้อมูล 4 ประเภทคือ การประเมินบริบทหรือสภาพแวดล้อม การประเมินปัจจัยตัวป้อน การประเมินกระบวนการ การประเมินผลผลิต

42 ข้อมูล จะนำไปสู่การตัดสินใจ 4 แบบคือ
การตัดสินในในการวางแผน การตัดสินใจเกี่ยวกับการกำหนดโครงสร้าง การตัดสินใจในการนำหลักสูตรไปใช้ การตัดสินใจเกี่ยวกับการนำหลักสูตรมาใช้อีก

43 กรณีศึกษา

44 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google