งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Mindfulness in Organization : MIO

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Mindfulness in Organization : MIO"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Mindfulness in Organization : MIO
โปรแกรม 2 วัน 1/12/2019 สร้างสุขด้วยสติในองค์กร ตน สติ Mindfulness in Organization : MIO ทีม องค์กร โปรแกรม 2 วัน ใช้กับ บ. ไทยซัมมิท เมื่อวันที่ กค 57 โดยปรับมาจากppt. ที่ใช้กับกระทรวงศึกษาและบำรุงราษฎร์ ครั้งที่2 นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ หัวหน้ากลุ่มที่ปรึกษากรมสุขภาพจิต

2 สติเป็น Metaskills Happy 8 Management
Mindfulness in Organization

3 ความสุข Happy8 สุขสง่า สุขสโมสร สุขสวัสดิ์ สุขสบาย สุขสงบ / สว่าง Soul
โปรแกรม 2 วัน 1/12/2019 ความสุข Happy8 สุขสง่า สุขสโมสร สุขสวัสดิ์ สุขสบาย สุขสงบ / สว่าง Soul Brain ,Society Heart , Family Relax Body, Money

4 องค์กรกับการให้ความสำคัญในการฝึก/พัฒนาจิต
ระดับที่ 1 องค์กรที่ผู้นำประกาศตนชัดเจนว่ามีการพัฒนา จิตและยอมรับว่าการพัฒนาจิตเป็นประโยชน์ต่อ การนำองค์กร ระดับที่ 2 องค์กรที่ขยายให้มีการฝึกสมาธิและสติเพื่อ ประโยชน์แก่สมาชิกในองค์กร ระดับที่ 3 องค์กรที่กำหนดให้การพัฒนาจิตเป็นเป็นคุณค่า หลักขององค์กร Mindfulness in Organization

5 “ ในฐานะของ Sound True เราจะฝึกให้มีสติในงานทุกด้านของเรา เราเห็นความสำคัญของความสงบ มองเข้าภายใน การฟังอย่างใส่ใจ และการอยู่กับปัจจุบัน” Sound True เริ่มการประชุมทุกชนิดด้วยการทำสมาธิ 1 นาที และมีห้องสมาธิ ให้สมาชิกได้เข้ามาหาความสงบเมื่อต้องการได้ตลอดวัน Mindfulness in Organization

6 4 ขั้นตอนของการพัฒนาจิต
ขั้นที่ 1 การเตรียมการและการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ด้านการ พัฒนาจิตแก่ทีมนำ ขั้นที่ 2 การให้ผู้ปฏิบัติงานเรียนรู้ นำไปใช้ทั้งในการทำงานและ การประชุม ตลอดจนการใช้ชีวิต ขั้นที่ 3 ผู้ปฏิบัติงานเห็นประโยชน์ในการนำไปใช้กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขั้นที่ 4 องค์กรร่วมกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียนำไป สร้างประโยชน์กับชุมชมและสังคม ปรับเดือนพย59 Mindfulness in Organization

7 กรอบแนวคิด การพัฒนาจิตในองค์กร พัฒนาจิตในแนวใหม่
Mindfulness in Organization

8 การทำงานอย่างมีคุณค่า
สมาธิ สติ ตน สมาธิ สติ องค์กร ทีม การพัฒนาค่านิยม/พันธกิจองค์กร การประชุมด้วยสติสนทนา - เรียนรู้ (กัลยาณมิตรสนทนา) - แก้ปัญหา (อภิปรายอย่างสร้างสรรค์) การทำงานร่วมกัน - สติสื่อสาร - คิดบวก Mindfulness in Organization

9 หลักคิด : พัฒนาจิตแนวใหม่ (non religion approach)
โปรแกรม 2 วัน 1/12/2019 หลักคิด : พัฒนาจิตแนวใหม่ (non religion approach) กระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) : ใช้ในชีวิต ประจำวัน การสื่อสารใหม่ (New Communication) : อาศัยคำที่ ง่าย/ตรง , ความรู้ทางจิต / สมอง การเรียนรู้ใหม่ (New Learning) : เป็น active learning

10 สภาวะจิต ขั้นพื้นฐาน ขั้นสูงกว่า
- หลับ - ตื่น - สมาธิ - สติ Mindfulness in Organization

11 จิตทุกคนมีความดี รัก เมตตา เสียสละ อดทน ให้อภัย คุณค่าภายใน
ทำงานด้วยจิตสงบ/มั่นคง/สมดุล สมาธิ สติ เสียสละ อดทน ให้อภัย

12 สมาธิ : จิตตั้งมั่น คิด ว้าวุ่น เครียด ความคิดหยุด สงบ ผ่อนคลาย
สมาธิ : จิตตั้งมั่น คิด ว้าวุ่น เครียด Thinking Upset Stress ความคิดหยุด สงบ ผ่อนคลาย Thought stopping Calmness Relaxation ร่างกาย จิตใจ Mindfulness in Organization

13 ฝึกสมาธิ 1. ฝึกหยุดความคิด (Thought stopping) 2. ฝึกจัดการความคิดที่เข้ามาสอดแทรก (Development of calmness) 3. ฝึกจัดการความคิดและความง่วงอย่างต่อเนื่องจนจิตสงบและ ผ่อนคลาย (Relaxation) Mindfulness in Organization

14 สรุปขั้นตอนการฝึก ฝึกหยุดความคิด 2 นาที ฝึกจัดการความคิด 4 นาที
Program 2 วัน 1/12/2019 สรุปขั้นตอนการฝึก ฝึกหยุดความคิด นาที ฝึกจัดการความคิด นาที ฝึกจัดการความคิดและความง่วง 8 นาที (จบด้วยสมาธิลืมตา 1 นาที )

15 ประโยชน์ของสมาธิ ลดความ ว้าวุ่น/เครียดที่สะสมในจิตใต้สำนึก
โปรแกรม 2 วัน 1/12/2019 ประโยชน์ของสมาธิ ลดความ ว้าวุ่น/เครียดที่สะสมในจิตใต้สำนึก เพิ่มคุณภาพงานเมื่อเริ่มต้นจากความสงบ ฝึกสติได้ง่าย

16 ทุกคนมีสติ : ทำไมต้องฝึกสติ
ทุกคนมีสติ : ทำไมต้องฝึกสติ วอกแวกได้ง่าย สอดแทรกด้วยอารมณ์ Mindfulness in Organization

17 2 คุณลักษณะของลมหายใจในการฝึกจิต
สังเกตได้ยาก หยุดความคิด สมาธิ เป็นปัจจุบัน รู้ในปัจจุบัน สติ Mindfulness in Organization

18 บันได 3 ขั้นของสติ สติปล่อยวาง สติ สติพื้นฐาน ตามการใช้งานภายนอก
โปรแกรม 2 วัน 1/12/2019 บันได 3 ขั้นของสติ สติปล่อยวาง ตามการใช้งานภายนอก สติ ตามสภาวะภายใน สติพื้นฐาน เปลี่ยนจาก”สติขั้นพื้นฐาน” เป็น “สติพื้นฐาน” และเปลี่ยน “สติพัฒนาเป็นปัญญา(ปล่อยวาง)” เป็น “สติปล่อยวาง” เมื่อวันที่ 8 เมษา 59

19 การใช้ลมหายใจเป็นฐานสติของความเป็นปัจจุบัน
Program 2 วัน 1/12/2019 การใช้ลมหายใจเป็นฐานสติของความเป็นปัจจุบัน ลมหายใจ : มีอยู่ตลอดเวลา / เป็นปัจจุบัน การฝึกสติให้เป็นปัจจุบัน จึงทำได้โดยรู้ลมหายใจซึ่งเป็นปัจจุบันพร้อมไปกับรู้ในกิจที่ทำ ช่วยให้เรามีสติในกิจต่าง ๆ ได้ดีขึ้น

20 ฝึกแบ่งสติมากน้อยตามการใช้งาน
Program 2 วัน 1/12/2019 ฝึกแบ่งสติมากน้อยตามการใช้งาน กิจภายนอก เมื่อต้องใส่ใจกิจใด ให้รู้ลมหายใจเล็กน้อย รู้ในกิจที่ทำให้มาก กิจภายใน เมื่อจิตใจว้าวุ่น ให้รู้ลมหายใจให้มากพร้อมไปกับการทำกิจ ปรับเดือนพย59

21 สติ การปล่อยวาง(ปัญญาภายใน)ได้อย่างไร
โปรแกรม 2 วัน 1/12/2019 สติ การปล่อยวาง(ปัญญาภายใน)ได้อย่างไร ยกระดับจากสติในกาย จิต (ความรู้สึกนึกคิด) จิตที่สังเกตง่ายที่สุด คือ ความรู้สึก ความรู้สึกที่สังเกตง่ายที่สุดคือความรู้สึกที่หยาบ เช่น เหนื่อย, โกรธ (ให้ขึ้นบันได 4-5 ชั้น , เดินในแดด)

22 สมาธิ และสติต่างกันอย่างไร ?
1/12/2019 สมาธิ และสติต่างกันอย่างไร ? - สภาวะการทำงานของจิต กระบวนการทำให้เกิด เทคนิค

23 สมาธิ สติ ความสัมพันธ์ หลัก/สภาวะจิต จิตพัก /สงบ โดยรู้ตัวตลอดเวลา
1/12/2019 สมาธิ สติ หลัก/สภาวะจิต จิตพัก /สงบ โดยรู้ตัวตลอดเวลา จิตทำงานโดยไม่วอกแวก และไม่ถูกสอดแทรกด้วยอารมณ์ กลไก/กระบวนการ ความคิดหยุด อยู่กับกิจที่ทำ วิธีการ/เทคนิค รู้ลมหายใจทั้งหมด รู้ลมหายใจบางส่วน รู้ในกิจที่ทำ

24 ติดตั้งให้ดังพอดีทุก 5-10 นาที
Applications “ระฆังสติ” 3 ระบบปฎิบัติการ ( สำหรับมือถือรูปแบบ Smartphone ) App : MIND TIMER App : MINDFULNESS BELL App : MINDFULNESS ติดตั้งให้ดังพอดีทุก 5-10 นาที Mindfulness in Organization

25 การทำงานอย่างมีคุณค่า
สมาธิ สติ ตน สมาธิ สติ องค์กร ทีม การทำงานร่วมกัน - สติสื่อสาร - คิดบวก การพัฒนาค่านิยม/พันธกิจองค์กร การประชุมด้วยสติสนทนา - เรียนรู้ (กัลยาณมิตรสนทนา) - แก้ปัญหา (อภิปรายอย่างสร้างสรรค์)

26 สติสื่อสารระหว่างบุคคล
พลังคำพูด : ภาษาฉัน คู่สื่อสาร คู่สื่อสาร พลังภาษาท่าทาง สายตา สีหน้า น้ำเสียง ท่าทาง ระยะห่างและสัมผัส

27 สติกับการสื่อสาร พลังสติ สติในการพูด สติในการฟัง
ไม่วอกแวก ลำดับการพูดได้ดีขึ้น เข้าใจได้มากขึ้น ไม่ถูกสอดแทรกด้วยอารมณ์ ลดความรุนแรงของอารมณ์ ฟังด้วยใจที่เป็นกลาง (ลดความรู้สึกในทางคล้อยตามหรือต่อต้าน) Mindfulness in Organization

28 ความคิดมีผลโดยตรงต่ออารมณ์และพฤติกรรมของคนเรา
อัตโนมัติ คิดลบ

29 สติในการคิด กับการคิดบวก ใคร่ครวญดูตามความเป็นจริง คิดทางบวก
สติรู้ความคิด สติรู้ความรู้สึก ฉันเห็นความคิด ≠ ฉันเป็นอย่างที่คิด มันเป็นอย่างที่ฉันคิด ฉันเห็นความรู้สึก ≠ ฉันรู้สึก ปล่อยวาง ใคร่ครวญดูตามความเป็นจริง คิดทางบวก

30 การทำงานอย่างมีคุณค่า
สมาธิ สติ ตน สมาธิ สติ องค์กร ทีม การพัฒนาค่านิยม/พันธกิจองค์กร การประชุมด้วยสติสนทนา - เรียนรู้ (กัลยาณมิตรสนทนา) - แก้ปัญหา (อภิปรายอย่างสร้างสรรค์ การทำงานร่วมกัน - สติสื่อสาร - คิดบวก

31 สติสนทนาในการประชุม Dialogue กัลยาณมิตรสนทนา อภิปรายอย่างสร้างสรรค์
Creative Discussion เพื่อการเรียนรู้ เน้นการฟังและการถาม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อการแก้ปัญหา เน้นการคิดค้นทางเลือกต่าง ๆ เพื่อหาทางออกที่ ดีสุด Mindfulness in Organization

32 กระบวนการของ Dialogue
1/12/2019 กระบวนการของ Dialogue การฟังอย่างละเอียดลุ่มลึก (Deep Listening) 60 % การไตร่ตรองความคิด (Reflection) 30% การนำเสนอความคิด (Advocacy) 10% Mindfulness in Organization

33 การอภิปรายอย่างสร้างสรรค์: รู้ลมหายใจในการคิดและพูด
1/12/2019 การอภิปรายอย่างสร้างสรรค์: รู้ลมหายใจในการคิดและพูด การเสนอ ประเด็นชัดเจน มีข้อมูลสนับสนุน ขอความเห็นผู้อื่น / ยอมรับข้อมูลที่แตกต่าง ไม่ปกป้องตนเองเมื่อถูกถาม การถาม ไม่คุกคาม ถามเพื่อสร้างความเข้าใจ ฟังคำตอบอย่างใส่ใจ

34 ข้อตกลงของการประชุมอย่างมีสติ
โปรแกรม 2 วัน 1/12/2019 ข้อตกลงของการประชุมอย่างมีสติ สมาธิ นาที Instruction ก่อนประชุม ระฆังสติ ระหว่างประชุม วาระที่มี Dialogue และ Creative Discussion AAR ท้ายประชุม สมาธิ 3- 5 นาที และให้ความคิดบวก

35 การนำการประชุมด้วยสมาธิ
ฉบับสั้น เราจะทำสมาธิกันสัก 3-4 นาที ก่อนเริ่มการประชุม ขอให้ทุกคนหลับตา เริ่มต้นด้วยการรู้ลมหายใจเข้าออกยาวสัก 5 ลมหายใจ สังเกตสัมผัสลมหายใจที่ปลายจมูกข้างที่รู้สึกชัดกว่า ตรงตำแหน่งที่ชัดที่สุด ดูไปให้ต่อเนื่องด้วยลมหายใจปกติ การรู้ลมหายใจจะทำให้ความคิดหยุด และจัดการกับความคิด จัดการกับความง่วง อย่างที่ได้เรียนรู้มา เราจะใช้เวลาในช่วงนี้ 3 นาที เอาหละค่อยๆ ลืมตาขึ้น ให้จิตอยู่กับลมหายใจต่อไปอีกสัก 1 นาที เพื่อให้จิตคุ้นกับการรู้ลมหายใจโดยไม่ต้องหลับตา (ต่อด้วยกติกาการประชุม) แก้ไขบทนำ ณ วันที่ 19 มค 59

36 Structure : การพัฒนาจิตในองค์กร
Intrapersonal Interpersonal Organization คุณค่าในตนเอง สมาธิ สติ การสื่อสาร ความคิดทางบวก ค่านิยมในงาน ต่อ Customer การพัฒนาปรับปรุง การพัฒนางาน Mindfulness in Organization

37 ตื่น awake หลับ Sleep สติ mindfulness สมาธิ concentration
Mindfulness in Organization

38

39 สติเป็น Metaskill Happy 8 คน ทีม พันธกิจ ทั่วทั้งองค์กร Body Money
Relax Relation Family Brain Society คน ทีม พันธกิจ Mindfulness in Organization

40 Facebook : สร้างสุขด้วยสติในองค์กร
ช่องทางการสื่อสาร / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Facebook : สร้างสุขด้วยสติในองค์กร

41 Download สื่อการเรียนรู้ต่างๆ ของ MIO ได้ที่

42 มาตรฐานและวิธีการประเมินองค์กร ที่ดำเนินงานสติในองค์กร

43 Macro Flowchart ของ MIO
ระบบสนับสนุน ระบบหลัก ผล สติในงาน สติในทีม สติในการขับเคลื่อน พันธกิจองค์กร การนำ Op แผน Op Outcome Impact การบริหาร Op การพัฒนาบุคลากร Op สารสนเทศ / จัดการความรู้

44 ข้อกำหนดของระบบสนับสนุน
ทบทวนBMK ในการสัมมนาพี่เลี้ยงMIO ข้อกำหนดของระบบสนับสนุน การนำ 1.1 ประกาศให้การพัฒนาจิตเป็นนโยบายขององค์กร 1.2 สื่อสารเรื่องการพัฒนาจิตเป็นคุณค่าสำคัญของทุกคนในองค์กร 1.3 ผลักดัน และสนับสนุนให้ MIO เกิดขึ้นจริงและยั่งยืนต่อเนื่องในองค์กร 1.4 เป็นแบบอย่างการพัฒนาจิตแก่บุคลากรในองค์กร 2. แผนและการบริหารแผน 2.1 แผนกลยุทธ์การพัฒนาMIO ขององค์กร 2.2 การดำเนินงานตามกลยุทธ 2.3 แผนพัฒนา MIO ของหน่วยงานย่อยในองค์กร

45 ข้อกำหนดของระบบสนับสนุน
ทบทวนBMK ในการสัมมนาพี่เลี้ยงMIO ข้อกำหนดของระบบสนับสนุน 3. การบริหารเพื่อการพัฒนา MIO 3.1 ทีมข้ามสายงานรับผิดชอบการบริหารจัดการ 3.2 จัดสรรทรัพยากรในการดำเนินงาน MIO 3.3 การวัด วิเคราะห์ และจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศด้านการพัฒนาจิตในองค์กร (ให้มีข้อมูลสารสนเทศ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในองค์กร) 4. การพัฒนาบุคลากร 4.1 ทีมวิทยากรที่สามารถพัฒนาบุคลากร 4.2 พัฒนานวัตกรรมการพัฒนาจิตในองค์กร 4.3 อบรมบุคลากรทั้งองค์กรให้เกิดทักษะพื้นฐาน 4.4 เป็นพี่เลี้ยงให้เกิดวิถีและระบบในหน่วยงานต่างๆ ขององค์กร 4.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนา MIO ทั้งในและนอกองค์กร พี่เลี้ยงในข้อ 4.4 หมายถึง internal Coaching คือพี่เลี้ยงภายในองค์กร

46 ทบทวนBMK ในการสัมมนาพี่เลี้ยงMIO
ข้อกำหนดของระบบหลัก 1. สติในงาน 1.1 การทำสมาธิก่อนและหลังเลิกงาน 1.2 การทำงานอย่างมีสติโดยมีเครื่องมือช่วยเตือนสติ 2. สติในทีม 2.1 การสื่อสารระหว่างบุคคลอย่างมีสติ 2.2 การประชุมทีมและหน่วยงานด้วยสติสนทนา 3. สติในการขับเคลื่อนพันธกิจองค์กร 3.1 การประชุมทีมข้ามสายงานแบบ Dialogue และ Creative Discussion ด้วยสติสนทนา 3.2 การประชุมกรรมการบริหารแบบ Dialogue และ Creative Discussion

47 ผลลัพธ์โดยตรง (Outcome)
ทบทวนBMK ในการสัมมนาพี่เลี้ยงMIO ผลลัพธ์โดยตรง (Outcome) ตน ร้อยละของบุคลากรที่ใช้สติในการทำงาน ร้อยละของบุคลากรที่นำสติไปใช้ในชีวิต ทีม สัดส่วนของทีม/หน่วยงานย่อยที่มีการใช้สติในการสื่อสาร สัดส่วนของทีม/หน่วยงานย่อยที่มีการประชุมด้วยสติสนทนา องค์กร สัดส่วนของทีมข้ามสายงานที่ประชุมแบบ Dialogue และ Creative Discussion ด้วยสติสนทนา สัดส่วนของการประชุมคณะกรรมการบริหารที่มีการใช้ Dialogue และ Creative Discussion ด้วยสติสนทนา

48 ผลกระทบ (Impact)

49 เกณฑ์การประเมินด้านกระบวนการ
ทบทวนBMK ในการสัมมนาพี่เลี้ยงMIO เกณฑ์การประเมินด้านกระบวนการ ระดับคะแนน คำอธิบายคุณภาพ ระดับคุณภาพ 1 (P) มีกระบวนการในการปฏิบัติงานที่ไม่ชัดเจน หรือชัดเจน แต่ยังไม่นำไปสู่การปฏิบัติ ปรับปรุง 2 (PD) มีกระบวนการในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และนำไปสู่การปฏิบัติ พอใช้ 3 (PDCA) มีกระบวนการในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน นำไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมินและปรับปรุงเป็นระยะ ค่อนข้างดี 4 (PDCAL) มีการประเมินและปรับปรุงเป็นระยะ มีการเรียนรู้และพัฒนาวิธีการ/กระบวนการอย่างต่อเนื่อง ดี 5 (PDCALI) มีการประเมินและปรับปรุงเป็นระยะ มีการเรียนรู้และพัฒนาวิธีการ/กระบวนการอย่างต่อเนื่อง และเชื่อมโยงกับระบบอื่นๆ เป็นอย่างดี ดีมาก คะแนน 3 มี A เชิงระบบ

50 ทบทวนBMK ในการสัมมนาพี่เลี้ยงMIO
วิธีการประเมิน ให้เริ่มจากระดับ 2 ก่อน ถ้าไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้ 1 ถ้าเป็นไปตามเกณฑ์ 2 ให้ดู 3 ถ้าไม่ถึง ได้ 2 จะได้ 4 ต่อเมื่อมีหลักฐานการปรับปรุงอยู่เสมอ โดยมีกระบวนการเรียนรู้เป็นระบบ / วิถีองค์กร เช่น CQI, CoP, PLC ฯลฯ จะได้ 5 ต่อเมื่อมีการเชื่อมโยงกับระบบต่างๆ เป็นวิถี/ระบบองค์กร เช่น Cross function team, Matrix org., Product brand org. ฯลฯ

51 เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดด้านผลลัพธ์
ทบทวนBMK ในการสัมมนาพี่เลี้ยงMIO   เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดด้านผลลัพธ์ ระดับคะแนน คำอธิบายคุณภาพ ระดับคุณภาพ 1 ไม่มีการประเมินผลลัพธ์ ปรับปรุง 2 มีการประเมินผลลัพธ์ 3 ช่วงเวลาขึ้นไป และผลลัพธ์คงที่ หรือมีแนวโน้มลดลง พอใช้ 3 มีการประเมินผลลัพธ์ 3 ช่วงเวลาขึ้นไป และผลลัพธ์มีแนวโน้มดีขึ้น ค่อนข้างดี 4 มีการประเมินผลลัพธ์ 3 ช่วงเวลาขึ้นไป และผลลัพธ์มีแนวโน้มดีเด่น โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับเขตพื้นที่การศึกษา / เขตการสาธารณสุข (ในกลุ่มโรงเรียน / โรงพยาบาล) และระดับประเทศ (ในกลุ่มสถานประกอบการ / สำนักงาน / NGO) ดี 5 มีการประเมินผลลัพธ์ 3 ช่วงเวลาขึ้นไป และผลลัพธ์มีแนวโน้มดีเยี่ยมโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ (ในกลุ่มโรงเรียน / โรงพยาบาล) และระดับนานาชาติ (ในกลุ่มสถานประกอบการ / สำนักงาน / NGO) ดีมาก การเปรียบเทียบนั้นต้องเทียบกับองค์กรประเภทเดียวกัน หมายเหตุ : 1. ช่วงเวลา หมายถึง วงรอบการพัฒนาตามกระบวนการจัดการคุณภาพ PDCA 2. กรณี 4 และ 5 ของ outcome หมายถึง ดีและดีมากในกลุ่ม MIO

52 ทบทวนBMK ในการสัมมนาพี่เลี้ยงMIO
วิธีการประเมิน ให้เริ่มจากระดับ 2 ก่อน ถ้าไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ได้ 1 ถ้าเป็นไปตามเกณฑ์ 2 ให้ดู 3 ถ้าไม่ถึงเกณฑ์ ได้ 2 จะได้ 4 ต่อเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับเขต (ในกลุ่มโรงเรียน / โรงพยาบาล) และระดับประเทศ (ในกลุ่มสถานประกอบการ / สำนักงาน / NGO) จะได้ 5 ต่อเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ (ในกลุ่มโรงเรียน / โรงพยาบาล) และระดับนานาชาติ (ในกลุ่มสถานประกอบการ / สำนักงาน / NGO) / ถ้าไม่มีเกณฑ์ระดับชาติให้ 4

53 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้
โปรแกรม 2 วัน 1/12/2019 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ ชอบตรงที่ จะดีกว่านี้ถ้า กลับไปจะ………...


ดาวน์โหลด ppt Mindfulness in Organization : MIO

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google