“โครงการสาธิตเทคโนโลยีเชิงลึก เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 4” นำเสนอโดย : นายกมล ตันพิพัฒน์ ผู้จัดการโครงการ บริษัท ไบร์ท แมเนจเม้นท์ คอนซัลติ้ง จำกัด วันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน 2561 1
หัวข้อนำเสนอ แนวทางการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ผลการดำเนินโครงการฯ ระยะที่ 1 - 3 หลักเกณฑ์ การคัดเลือกเทคโนโลยี เชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน สำหรับโครงการฯ ระยะที่ 4 หลักเกณฑ์ การคัดเลือกสถานประกอบการ สำหรับ โครงการฯ ระยะที่ 4 หลักเกณฑ์ การสนับสนุนการลงทุน สำหรับโครงการฯ ระยะที่ 4 2
แนวทางการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการอนุรักษ์พลังงานของภาครัฐ
Promotion with Strong Incentive ความเป็นมาของโครงการ Demonstration High Potential on Energy Saving Low Implementation Promotion with Strong Incentive Energy Saving ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง High Tech. Process Improvement Energy Management มาตรการภาษี กรอบการดำเนินงาน เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ กระทรวงพลังงานมีเป้าหมายที่สร้างเสริมประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้ดีขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อัตราส่วนการเจริญเติบโตระหว่างการใช้พลังงานต่ำกว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ 0.85 ต่อ 1 ในปี 2554 ซึ่งหากสำเร็จจะเกิดผลประหยัดคิดเป็นมูลค่ากว่า 7 หมื่นล้านบาท ในการดำเนินการ พพ. มีวิธีการ/เครื่องมือแบบต่าง ๆ ที่จะช่วยผู้ประกอบการ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ซึ่งระดับแรก จะเป็นเรื่องของการบริหารจัดการ ซึ่งจะเป็นเรื่องของคน ความรู้ และจิตสำนึก ระดับที่สอง จะเป็นการปรับปรุงการผลิต ซึ่งจะต้องมีการใช้เงินทุนในการสนับสนุนช่วยเหลือ และระดับที่สาม จะเป็นเรื่องของการใช้เทคโนโลยีระดับสูง ซึ่งจะมีการศึกษา สาธิต และเผยแพร่ให้แก่ภาคอุตสาหกรรมพิจารณานำไปใช้ประโยชน์ ฝึกอบรม /ให้ความรู้ กฎหมาย ข้อมูล/ข่าวสาร การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 4
ให้ความรู้ / เผยแพร่ข้อมูล ขาดความเชื่อมั่นในเทคโนโลยี Concept & Approach High Tech. High Tech. ขยายผล อุปสรรค/ปัญหา แนวทางแก้ไข ให้ความรู้ / เผยแพร่ข้อมูล ไม่รู้ข้อมูล การสาธิต เทคโนโลยี เชิงลึกฯ This slide shows our conceptual framework in promoting energy efficiency in industry sector. Principally, there are three basic steps for the industry to be more energy efficient. First, they must have Good energy management – to reduce unnecessary wasteful energy by doing good housekeeping and being energy conscious. After that the industry would need to improve their production process – this is a case where investment is needed because it could involve replacing machineries, installing control devices.. and perhaps specialized agency like Energy Service companies is required to ensure the successful implementation of such improvement Third – To go further, Industry may consider to use advanced high technologies to be most efficient. However, risk and risk mitigation are the issues for this area. DEDE has a quite comprehensive program to facilitate the industry for all three steps. To promote good Energy Management, we are targeting capacity building and awareness raising as well as building infrastructure in factories. Training programs, handbooks, and guidelines together with regulation on energy management standards are among a few measures being implemented, To facilitate the implementation and investment in EE projects, DEDE conduct several financing programs such as Revolving Fund (which is a soft loan program through 11 commercial banks in the country), tax incentive programs and the new ESCO fund to provide equity financing for EE project targeting SMEs. To reduce perceived risks on high technologies, we have been conducting a lot of research and implementing demonstration projects to show how the technologies work and save a lot of energy. In Thailand, we are quite fortunate to have Energy Conservation Promotion Fund and Regulation in place to enable us to provide so many EE programs for industry. สาธิตใช้งานจริง ขาดความเชื่อมั่นในเทคโนโลยี สนับสนุนการลงทุน ไม่พร้อมลงทุน
โครงการสาธิตเทคโนโลยีเชิงลึก เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อ สร้างความเชื่อมั่น ให้กับผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจในการนำเทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงานมาใช้งาน 2. เพื่อ ขยายผล ในการส่งเสริมให้มีการนำเทคโนโลยี เชิงลึกฯ ไปใช้งานในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม 3. เพื่อ กระตุ้นให้เกิดการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีด้านอนุรักษ์พลังงานภายในประเทศ 4. เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจสามารถ ลดการใช้พลังงานและมีการใช้พลังงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 10
“ดำเนินการ สาธิตการใช้งาน เทคโนโลยี รูปแบบโครงการ “ดำเนินการ สาธิตการใช้งาน เทคโนโลยี เชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน โดยให้การสนับสนุนการลงทุนสำหรับสถานประกอบการ ที่เข้าร่วมโครงการในรูปแบบของ เงินสนับสนุนแบบให้เปล่า” 11
หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนการลงทุน ระยะที่ 1 สนับสนุนการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของเงินลงทุน แต่ไม่เกิน 7.5 ล้านบาท/สถานประกอบการ ระยะที่ 2 – ระยะที่ 4 สนับสนุนการลงทุนในอัตราร้อยละ 40 ของเงินลงทุน แต่ไม่เกิน 6 ล้านบาท/สถานประกอบการ 12
เทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ผลการสาธิตเทคโนโลยี ผลการสาธิต เทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 1 - 3
ผลการสาธิตเทคโนโลยี เทคโนโลยีที่ทำการสาธิต ในโครงการฯ ระยะที่ 1 หัวเผาแบบรีเจนเนอเรทีฟ การลดความชื้นด้วยฮีทไปป์ การใช้ปั๊มความร้อนสำหรับการทำความร้อน การลดความชื้นด้วยสารดูดความชื้นเหลว การบำบัดและปรับสภาพน้ำด้วยโอโซน เครื่องอบตกแต่งสำเร็จผ้าผืนประสิทธิภาพสูง สถานประกอบเข้าร่วม 9 แห่ง ผลประหยัดพลังงานรวมประมาณ 28.93 ล้านบาท/ปี ใช้เงินลงทุนประมาณ 81.36 ล้านบาท ระยะเวลาคืนทุน 2.81 ปี
ผลการสาธิตเทคโนโลยี เทคโนโลยีที่ทำการสาธิต ในโครงการฯ ระยะที่ 2 หัวเผาแบบ Oxy Fuel เครื่องทำน้ำเย็นแบบดูดซึม เครื่องฉีดพลาสติกชนิดใช้ไฟฟ้าทั้งหมด ปั๊มความร้อนแบบดูดซึม หัวเผาแบบเซลฟ์-รีคัฟเปอร์เรทีฟ เครื่องทำน้ำเย็นชนิดปรับความเร็วรอบของ คอมเพรสเซอร์ สถานประกอบเข้าร่วม 12 แห่ง ผลประหยัดพลังงานรวมประมาณ 32.71 ล้านบาท/ปี ใช้เงินลงทุนประมาณ 95.39 ล้านบาท ระยะเวลาคืนทุน 2.92 ปี
ผลการสาธิตเทคโนโลยี เทคโนโลยีที่ทำการสาธิต ในโครงการฯ ระยะที่ 3 อุปกรณ์ให้ความร้อนโดยใช้รังสีอินฟราเรด หม้อไอน้ำชนิด Once Through ระบบปรับสภาพอากาศเติมเข้าสู่อาคารด้วยระบบ Pre-Cooling & Dehumidification เครื่องอบชนิดงานแบบ Plasma ระบบผลิตไฟฟ้าด้วย Organic Rankine Cycle (ORC) สถานประกอบเข้าร่วม 7 แห่ง ผลประหยัดพลังงานรวมประมาณ 13.92 ล้านบาท/ปี ใช้เงินลงทุนประมาณ 53.89 ล้านบาท ระยะเวลาคืนทุน 3.87 ปี
โครงการสาธิตเทคโนโลยีเชิงลึก เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 4 โครงการสาธิตเทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 4 โครงการสาธิตเทคโนโลยีเชิงลึก เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 4 22
ก.ค. 61– 31 ต.ค.61 ถึงประมาณ ก.ค.61 มิ.ย. – ก.ค.61 ธ.ค.61 ธ.ค. 61 โครงการสาธิตเทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 4 ก.ค. 61– 31 ต.ค.61 1 กำหนดหลักเกณฑ์ / เงื่อนไข จัดตั้งคณะกรรมการฯ ถึงประมาณ ก.ค.61 2 3 มิ.ย. – ก.ค.61 4 รับสมัครสถานประกอบการ (เพิ่มเติม) คัดเลือกและตรวจประเมินก่อนติดตั้ง ติดตั้งอุปกรณ์ / ทดสอบ 7 6 5 เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ผลงาน อนุมัติ/จ่ายเงินสนับสนุน ตรวจประเมินหลังติดตั้ง ธ.ค.61 ธ.ค. 61 พ.ย.– ธ.ค.61 เป้าหมาย สาธิต : 3 เทคโนโลยี / 5 สถานประกอบการ 23
หลักเกณฑ์การคัดเลือก “เทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน” 24
- ประหยัดได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 หลักเกณฑ์การคัดเลือก “เทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน” 1. มีศักยภาพในการประหยัดพลังงานสูง - ประหยัดได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (กรณีเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ใน ระบบ Utility) - ประหยัดได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 (กรณีเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในกระบวนการผลิต) 2. ยังไม่มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในประเทศไทย - เป็นเทคโนโลยีที่มีการประยุกต์ใช้งานในสถานประกอบการต่าง ๆ ในทุก ๆ กลุ่มอุตสาหกรรมและธุรกิจของประเทศไทยในปัจจุบัน ทั้งหมดรวมกันไม่เกินร้อยละ 5 ของจำนวนสถานประกอบการที่ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีนั้น ๆ ได้ 25
3. มีศักยภาพในการขยายผลเพื่อการอนุรักษ์พลังงานสูง หลักเกณฑ์การคัดเลือก “เทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน” 3. มีศักยภาพในการขยายผลเพื่อการอนุรักษ์พลังงานสูง - มีศักยภาพในการขยายผลในกลุ่มสถานประกอบที่มีการใช้ พลังงานในระบบที่สาธิตไม่น้อยกว่า 300 ktoe/ปี 4. มีระยะเวลาคืนทุนสั้น - ไม่เกิน 5 ปี 5. มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมน้อย - ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะและผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมโลกหรือมี ค่าไม่เกินกว่าค่ามาตรฐานของประเทศไทย 26
6. ไม่มีการสาธิตในโครงการฯ ระยะที่ 1 - ระยะที่ 3 หลักเกณฑ์การคัดเลือก “เทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน” 6. ไม่มีการสาธิตในโครงการฯ ระยะที่ 1 - ระยะที่ 3 หัวเผาแบบรีเจนเนอเรทีพ 9. เครื่องฉีดพลาสติกชนิดใช้ไฟฟ้า ทั้งหมด การลดความชื้นด้วยฮีทไปป์ 10. ปั๊มความร้อนแบบดูดซึม การใช้ปั๊มความร้อนสำหรับการทำความร้อน 11. หัวเผาแบบเซลฟ์-รีคัฟเปอร์เรทีฟ การลดความชื้นด้วยสารดูดความชื้นเหลว 12. เครื่องทำน้ำเย็นชนิดปรับความเร็ว รอบ การบำบัดและปรับสภาพน้ำด้วยโอโซน คอมเพรสเซอร์ เครื่องอบตกแต่งสำเร็จผ้าผืนประสิทธิภาพสูง 13. Infrared Heating 14.Plasma Annealer 7. หัวเผาแบบ Oxy Fuel 15. Fresh Air Precooling & Dehumidification 8. เครื่องทำน้ำเย็นแบบดูดซึม 16.Organic Rankine Cycle 17. Once Through Boiler ผลการคัดเลือกขั้นสุดท้าย - อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการส่งเสริมเทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 27
หลักเกณฑ์การคัดเลือก หลักเกณฑ์การคัดเลือก “สถานประกอบการ” หลักเกณฑ์การคัดเลือก “สถานประกอบการ” 28
หลักเกณฑ์การคัดเลือก “สถานประกอบการ” 1. เป็นนิติบุคคลไทย - จดทะเบียนในประเทศไทย 2. เทคโนโลยีที่เลือกดำเนินการ - ตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกเทคโนโลยีเชิงลึกของโครงการ - มีผลประหยัดจากการประเมินไม่ต่ำกว่า 200,000 บาทต่อปี - ไม่ได้ขอรับการสนับสนุนการลงทุนจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในโครงการอื่นๆ (ยกเว้นโครงการ ESCO Fund และโครงการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน) 29
3. ระยะเวลาดำเนินการโครงการ - ออกแบบ จัดหา ติดตั้งและทดสอบระบบแล้วเสร็จไม่เกิน ประมาณวันที่ 31 ตุลาคม 2561 (หรือ ภายในกำหนดที่ได้รับ อนุมัติกรอบเวลาการใช้งบประมาณจากกองทุนฯ) 4. การเผยแพร่ขยายผลโครงการ - อนุญาตให้ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลของการดำเนินการ 5. การสนับสนุนจากผู้บริหาร - แสดงเจตจำนงที่ชัดเจนที่จะสนับสนุนโครงการ - มีทีมงานด้านอนุรักษ์พลังงาน หลักเกณฑ์การคัดเลือก “สถานประกอบการ” 30
เงื่อนไขการดำเนินโครงการสำหรับ “สถานประกอบการ” 1. การปฏิบัติตาม พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน - กรณีเป็นโรงงาน/อาคารควบคุม จะพิจารณาสนับสนุนโรงงาน/อาคารควบคุมที่ปฏิบัติตาม พ.ร.บ.อย่างต่อเนื่องเป็นอันดับแรก 2. การตรวจวัดผลประหยัด - สถานประกอบการจะต้องดำเนินการจัดหาและติดตั้งเครื่องมือวัดที่จำเป็นในการตรวจวัดผล * ทั้งนี้หลักเกณฑ์การคัดเลือกและเงื่อนไขการสนับสนุนขั้นสุดท้ายจะขึ้นอยู่กับ ดุลพินิจของคณะกรรมการพิจารณาฯ เงื่อนไขการดำเนินโครงการสำหรับ “สถานประกอบการ” 31
หลักเกณฑ์การสนับสนุน หลักเกณฑ์การสนับสนุน “การลงทุน” หลักเกณฑ์การสนับสนุน “การลงทุน” 32
หลักเกณฑ์การสนับสนุนการลงทุน สนันสนุนเงินให้เปล่าในอัตรา ร้อยละ 40 ของวงเงินลงทุนทั้งหมดของโครงการ แต่ไม่เกิน 6 ล้านบาทต่อสถานประกอบการ ค่าใช้จ่ายที่ให้การสนับสนุนประกอบด้วย ค่าอุปกรณ์และค่าติดตั้งเทคโนโลยีเชิงลึกฯ ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาและออกแบบทางวิศวกรรม ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการส่งเสริมเทคโนโลเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน หรือ คณะกรรมการฯ ของ พพ. 33
หลักเกณฑ์การสนับสนุนการลงทุน 2. การจ่ายเงินสนับสนุน - จ่าย 100% ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ เมื่อติดตั้งและผ่านการทดสอบและพิสูจน์ผลประหยัด (M&V) ประชาสัมพันธ์โครงการ และกรรมการฯเห็นชอบเป็นที่เรียบร้อย เงื่อนไขการให้การสนับสนุน พพ.สงวนสิทธิ์ในการพิจารณาอนุมัติเงินสนับสนุนการลงทุน ตามความสมบูรณ์และความถูกต้องของเอกสารหลักฐานที่ได้รับจากสถานประกอบการ พพ. ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่ให้เงินสนับสนุน ในกรณีที่ผลประหยัดพลังงานจริง ต่ำกว่า ผลประหยัดตามระบุในหลักเกณฑ์ของโครงการฯ 34
“ ลงมือก่อน ประหยัดก่อน ” ขอบคุณครับ 35