รายงานการประเมินตนเอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประกันคุณภาพ การศึกษา สาขาวิชา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Advertisements

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
How to write impressive SAR
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
รูปแบบการกำหนดรหัส เอกสาร/หลักฐานตามตัวบ่งชี้
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ระดับหน่วยงาน แบบ ปย.1 แบบ ปอ.1 แบบ ปส. แบบ ปย.2 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3
ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ประเภทของพฤติกรรม 1.เกณฑ์ “สังเกต” พฤติกรรมภายนอก (OVERT BEHAVIOR)
SELF-ASSESSMENT REPORT Department of Medicine. SAR Plan-Do-Follow-Evaluate-Improve.
เกณฑ์การประเมิน ผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำนวยการชำนาญ การพิเศษ / เชี่ยวชาญ.
แนวทางการดำเนินงานประกัน คุณภาพการทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน การประชุมเชิง ปฏิบัติการ สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือ แรงงาน.
Report การแข่งขัน.
เครื่องมือชุดธารปัญญา: แนวคิดและการประยุกต์ใช้
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ
ณ ห้องประชุมสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
แนวทางการจัดทำรายงาน
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
นโยบายการบริหาร นักเรียน นักศึกษา มีวินัยและจรรยาบรรณ
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
คณะที่ 3 : การบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
การฝึกปฏิบัติตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามแนวทาง SEPA สำหรับปี 2554
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ในการทำประกันคุณภาพการศึกษา รศ.พญ. อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
ปัญหา อุปสรรคและแนวโน้มการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
แนวทางปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ทำหน้าที่งบประมาณ
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
แรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการประเมินตนเอง Self Assessment Report (SAR) ประจำปี ๒๕๖๑ ค่ายท่านมุก กองกำกับการ ๙ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

กองกำกับการ ๙ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ค่ายท่านมุก กองกำกับการ ๙ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

ผังการบังคับบัญชา ปี ๒๕๖๑ ( ค ) กก.๙ บก.กฝ.บช.ตชด. พ.ต.อ.กิตติณัฐ์ ทุมเพชร ผกก.๙ บก.กฝ.บช.ตชด. พ.ต.ท.หญิง อรพิมล โชคพระสมบัติ รอง ผกก.๙ บก.กฝ.บช.ตชด. พ.ต.ท.พิสิทธิ์ สัมพัชนี รอง ผกก.ฝสสน.๒ฯ รรท.รอง ผกก.๙ บก.กฝ.บช.ตชด. พ.ต.ท.นพพันธ์ สุขศรีเจริญวงศ์ ผบ.ร้อย 4 ๆ รรท.สว.ธกวส. พ.ต.ท.ยศ มณฑาณี สว.กฝว. พ.ต.ต.ขวัญชาติ จันทะ ผบ.ร้อย กก.6ฯ รรท.สว.ผงป. พ.ต.ท.หญิง หทัยรัตน์ สุขศรีเจริญวงศ์ สว.กง.กบ. พ.ต.ต.สัมพันธ์ มรกต ผบ.ร้อย 1 พ.ต.ต.ชาญณรงค์ อำนวยสิทธิ์ รรท.ผบ.ร้อย 2 พ.ต.ท.ปราโมทย์ เทพทวี ผบ.ร้อย 3 พ.ต.ท.นพพันธ์ สุขศรีเจริญวงศ์ ผบ.ร้อย 4 พ.ต.ท.จักรพันธ์ พยับไชยกุล ผบ.ร้อย 5 ร.ต.อ.อุดม แก้วชูเสน หน.ฝกทบ.

โครงสร้างองค์กร กองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ - 10 - 1.15 โครงสร้างองค์กร กก.9 บก.กฝ.บช.ตชด. เป็นหน่วยงานในสังกัด กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบ่งการบริหารเป็น 4 ส่วน คือ 1. งานอำนวยการ เป็นหน่วยอำนวยการขององค์กร ประกอบด้วย งานธุรการกำลังพล วินัยและสวัสดิการ งานการฝึกอบรมและวิชาการ งานแผนงานและงบประมาณ งานการเงินและส่งกำลังบำรุง และกลุ่มงานฝึกเก็บกู้และทำลายวัตถุระเบิด 2. งานฝ่ายสนับสนุน ประกอบด้วย กองร้อยที่ 1 ได้แก่ งานด้านหมวดสื่อสาร หมวดพยาบาล หมวดขนส่ง หมวดรักษาความปลอดภัย และหมวดสูทกรรม 3. งานด้านการปฏิบัติการ ทำหน้าที่ด้านการฝึกหลักสูตรต่างๆ ได้แก่ กองร้อยที่ 2 – 5 4. กลุ่มงานฝึกเก็บกู้และทำลายวัตถุระเบิด โครงสร้างองค์กร กองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน กองบังคับการฝึกพิเศษ กองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน งานธุรการ กำลังพล วินัยและสวัสดิการ งานการฝึกและวิชาการ งานแผนงานและงบประมาณ งานการเงินและส่งกำลังบำรุง กองร้อยที่ 1 ( สนับสนุน ) กองร้อยที่ 2 – 5 ( การฝึก ) กลุ่มงานฝึกเก็บกู้และทำลายวัตถุระเบิด มว.สื่อสาร มว.ขนส่ง มว.พยาบาล มว.รปภ. มว.สูทกรรม

- 11 - 1.16 โครงสร้างการบริหาร - 11 - 1.16 โครงสร้างการบริหาร กองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน มีโครงสร้างการบริหาร ดังนี้ - ผู้กำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เป็นผู้กำกับดูแลบังคับบัญชา และเป็นผู้บริหารหน่วยงาน มีรองผู้กำกับการ 2 ท่าน คือ รองผู้กำกับการฝ่ายอำนวยการ และรองผู้กำกับการฝ่ายปฏิบัติการ - รองผู้กำกับการ ( 1 ) เป็นผู้ดูแลและบังคับบัญชางานอำนวยการ เป็นหน่วยสนับสนุนขององค์กร ประกอบด้วย งานธุรการกำลังพล วินัยและสวัสดิการ งานการเงินและส่งกำลังบำรุง งานฝ่ายสนับสนุน ประกอบด้วย กองร้อยที่ 1 มีงานด้านการสื่อสาร งานด้านการพยาบาล งานด้านการขนส่ง งานด้านการรักษาความปลอดภัย และงานสูทกรรม รองผู้กำกับการ ( 2 ) เป็นผู้ดูแลและบังคับบัญชางานด้านการปฏิบัติ เป็นหน่วยปฏิบัติ ทำหน้าที่ด้านการฝึกหลักสูตรต่างๆ ประกอบด้วย งานการฝึกและวิชาการ งานแผนงานและงบประมาณ กองร้อยที่ 2 – 5 และกลุ่มงานการฝึกและเก็บกู้และทำลายวัตถุระเบิด

กองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน - 12 - โครงสร้างการบริหาร กองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ผู้กำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน รองผู้กำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ( 1 ) รองผู้กำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ( 2 ) สารวัตรกองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ( งานธุรการ กำลังพล วินัยและสวัสดิการ ) สารวัตรกองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ( งานวิชาการ และการฝึก ) สารวัตรกองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ( งานการเงิน และส่งกำลังบำรุง ) สารวัตรกองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ( งานแผนงาน และงบประมาณ ) ผู้บังคับกองร้อยที่ 1 กองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ( งานสนับสนุน ) ผู้บังคับกองร้อยที่ 2 - 5 กองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ( งานการฝึก ) รองสารวัตรกลุ่มงานฝึกเก็บกู้ และทำลายวัตถุระเบิด กองกำกับการ 9 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน