งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่
วันที่ 4 เมษายน 2560

2 สถานการณ์โรค และการทำงาน COPD ภาพรวม 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน เขตบริการสุขภาพ ที่ 1
ภาคเหนือพบผู้ป่วยมาก แต่ข้อมูลระดับประเทศ HDC และข้อมูลหน้างานจากการประเมินตนเอง Self Assessment แตกต่างกันมาก ภาคเหนือ Exacerbation บ่อยที่สุด การพัฒนางาน COPD ให้ถูกทาง จะลดค่าใช้จ่ายด้านยา -เวชภัณฑ์ ลดภาระหน่วยบริการ และผู้ดูแล โดยระยะต่างของการทำงานสามารถวัดผลได้ชัดเจน 4. ต่อไป การประเมินมาตรฐานบริการคลินิก COPD คุณภาพ (การวินิจฉัย การติดตามฟื้นฟูสภาพปอด ,การเข้าถึงยา ICS/LABA, การเลิกบุหรี่ ) จากโปรแกรมกลางทั้งประเทศ

3 ข้อมูลโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เขตบริการสุขภาพที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่
ข้อมูลโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เขตบริการสุขภาพที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ (ข้อมูลต่อแสนประชากร ที่มา HDC :: 24 มีนาคม 2560)

4

5

6 การเปรียบเทียบข้อมูลจาก HDC และ ข้อมูลประเมินตนเองจากหน่วยบริการใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน self Assessment (SA)

7 Self Assessment ข้อมุจากหน่วยบริการ

8 ข้อมุจากหน่วยบริการ

9 24/24 24/24

10 ตัวชี้วัดงานดำเนินการดูแลรักษา COPD

11 การใช้ประโยชน์โปรแกรม
ผู้บริหารในกระทรวง เขต จะช่วยคนทำงานในพื้นที่ได้ จากการพิจารณา องค์ความรู้ในปัญหา และข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงความรุนแรง ผลกระทบ และ กระบวนการจัดการลดภาระ แก้ไขปัญหา การทำงาน COPD หากมีข้อมูลสนับสนุนจะเห็นชัดในภาพคนไข้เข้าถึงการรักษา และ ค่ายาที่ถูกลง

12 อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เกณฑ์เป้าหมาย : ไม่เกิน 130 ต่อแสนประชากร ประเภทตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ 20 ปี เป้าหมายผลการดำเนินงาน ประชาชนมีสุขภาพดี คำนิยาม อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หมายถึง อัตราการกำเริบเฉียบพลันที่ต้องเข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินและหรือต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ต่อประชากรอายุ ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ (ICD J44.0, 44.1) ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หมายถึง ผู้ป่วยที่แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็นโรคนี้ โดยให้ รหัส ICD-10 J440-J เป็นโรคหลัก (PDx ) ในเวชระเบียน

13 อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เกณฑ์เป้าหมาย : ไม่เกิน 130 ต่อแสนประชากร วัตถุประสงค์ ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในการป้องกันการกำเริบเฉียบพลัน ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ประชากรอายุมากกว่า 15 ปี ในเขตรับผิดชอบ วิธีการจัดเก็บข้อมูล ใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยใน 43 แฟ้มของสถานพยาบาล และ โปรแกรมการลงระบบบันทึกคลินิคโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD Quality of Care) แหล่งข้อมูล จากทุกเครือข่ายเขตบริการสุขภาพในกระทรวงสาธารณสุข รายการข้อมูล 1 A = จำนวนครั้งของการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเป็นโรคหลัก (PDx = J440-J441) รายการข้อมูล 2 B = จำนวนประชากรกลางปี อายุ๑๕ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบจากฐานข้อมูลประชากร สูตรคำนวณตัวชี้วัด A/B x 100,000 ระยะเวลาประเมินผล ปีละ 1 ครั้ง ติดตามการเปลี่ยนแปลง ทุก 3 เดือน

14 คำอธิบายเพิ่มเติม การกำเริบ (exacerbation) นิยาม : ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยขึ้น ไอ เสมหะเปลี่ยนสี กิจวัตรทำได้ลดลง ได้ยา systemic steroids (ฉีดหรือกิน) ลงรหัส J44.1 (ได้ยาพ่น ดีขึ้นแล้วกลับบ้าน ไม่ใช่ exacerbation) -มีภาวะ การติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจส่วนล่างและได้รับยาฆ่าเชื้อปฏิชีวนะ กรุณาลงรหัส J44.0 ภาวะอื่นที่ไม่ใช่การกำเริบรุนแรงเช่นหอบมากขึ้นเล็กน้อยจาก ยาพ่นหมดก่อนให้ลง รหัส J44.9 การคิดจำนวนครั้งของการกำเริบ :ให้คิดทุกครั้งที่มาห้องฉุกเฉิน ถ้าผู้ป่วยรายนั้นได้รับการ admit หลังจากเข้าห้องฉุกเฉินให้นับเป็น 1ครั้ง ถ้ามีการส่งต่อในเขตจังหวัดเดียวกัน ให้นับการ exacerbationที่โรงพยาบาลต้นทาง

15 คำอธิบายเพิ่มเติม นับจำนวนครั้งที่เกิดการกำเริบทั้งปี มาเปรียบเทียบกับประชากรกลางปีที่อายุ 15 ปีขึ้นไป ของจังหวัดนั้นๆ เช่น ประชากรกลางปีมี 1 ล้านคน การกำเริบทั้งปี 1,000 ครั้ง คำตอบคือ ครั้งต่อแสนประชากร การวินิจฉัย : ไม่ลง วินิจฉัย COPD และ Chronic bronchitis ในคนที่อายุ น้อยกว่า 40 ปี

16 อัตราการมีคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังครบวงจรและได้มาตรฐาน เกณฑ์เป้าหมาย : 60 %
ปีงบประมาณ 60 ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 60 % 65 % 70 % 75 % 80 % วัตถุประสงค์ ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในการรักษาโรคเรื้อรัง ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ประชากรอายุมากกว่า 15 ปี ในเขตรับผิดชอบ วิธีการจัดเก็บข้อมูล โปรแกรมการติดตามและฐานข้อมูลผู้ป่วยใน 43 แฟ้มของสถานพยาบาล แหล่งข้อมูล รายการข้อมูล 1 A = จำนวนผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในการประเมินและติดตามครบ 4 ประเด็น รายการข้อมูล 2 B = จำนวนผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังทั้งหมดในโรงพยาบาล สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 ระยะเวลาประเมินผล ปีละ 1 ครั้ง ติดตามการเปลี่ยนแปลง ทุก 3 เดือน

17 อัตราการมีคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังครบวงจรและได้มาตรฐาน เกณฑ์เป้าหมาย : 60 %
ประเภทตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ 20 ปี เป้าหมายผลการดำเนินงาน ประชาชนมีสุขภาพดี คำนิยาม อัตราการมีคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังครบวงจรและได้มาตรฐาน ได้แก่ - วินิจฉัยถูกต้องตามมาตรฐานการรักษา - มีการติดตามการรักษาเช่น MMRC, CAT score - มีการประเมินการใช้ยาพ่นควบคุม (controller) - ให้ค่าแนะน่าการสูบบุหรี่ในผู้ที่ยังสูบ

18 โรงพยาบาลระดับ F/M/A/S ต้องมีข้อมูลครบตามตารางของ Hospital level ดังตารางข้างบนจะนับเป็น 1 Case
นับจำนวน Case ป่วยที่ผ่านการประเมินตามตาราง หารด้วยจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่นำมาจาก ข้อมูล ICD 10 : J44 (จำนวนคน) แล้วคูณด้วย เป็นคำตอบ เช่น โรงพยาบาลมีผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คน ผ่านการประเมินตามมาตรฐานข้างต้น คน อัตราการมีคลินิกครบวงจรและ ได้มาตรฐาน = 100/400 X 100 = 25% แนะนำให้ลงข้อมูลผ่าน ระบบดำเนินการคำนวณให้

19 คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังระดับ A/S ต้องประกอบด้วย
ข้อมูลพื้นฐานในครั้งแรก ข้อมูลที่ต้องมีปีละครั้ง การประเมินสมรรถภาพปอด การประเมินการสูบบุหรี่ การติดตาม MMRC การติดตาม CAT การติดตาม 6 minute walk test การประเมินภาพเอกซเรย์ยืนยันไม่ใช่ ภาวะโรคอื่น การติดตามการใช่ยาพ่นควบคุม Pulmonary rehabilitation เมื่อมี MMRC > 2 หรือมี exacerbation การฉีดยาไข้หวัดใหญ่

20 คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังระดับ M ต้องประกอบด้วย
ข้อมูลพื้นฐานในครั้งแรก ข้อมูลที่ต้องมีปีละครั้ง การประเมินสมรรถภาพปอด การประเมินการสูบบุหรี่ การติดตาม MMRC การติดตาม CAT การติดตาม 6 minute walk test การติดตามการใช่ยาพ่นควบคุม การฉีดยาไข้หวัดใหญ่

21 คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังระดับ F ต้องประกอบด้วย
ข้อมูลพื้นฐานในครั้งแรก ข้อมูลที่ต้องมีปีละครั้ง การประเมินสมรรถภาพปอด การประเมินการสูบบุหรี่ การติดตาม MMRC การติดตาม CAT การติดตามการใช่ยาพ่นควบคุม การฉีดยาไข้หวัดใหญ่

22 การลงระบบบันทึกคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
COPD Quality of Care เปิด URL

23 การใช้ประโยชน์ โปรแกรม
1.ผู้บริหารระดับ กระทรวง เขต พิจารณาช่วยพัฒนาเครือข่าย COPDจากข้อมูลโปรแกรม 2.เห็นผลการทำงาน ระยะยาว ด้านการเข้าถึงบริการ ลดความรุนแรงโรคจากการดูแลทั้งระบบ และการรักษาที่ถูกทาง ค่ายาแทนที่จะเพิ่มกลับลดลง 3.มี คำแนะนำจาก guild line ช่วยคำนวณ ปริมาณ อัตรา ทุกระยะที่กรอกข้อมูลคนไข้แต่ละราย 4.ประเมิน การทำงาน COPD คุณภาพของหน่วยบริการแต่ละแห่ง

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36 จำนวนผู้ป่วยที่ลงทะเบียน
ผลงานการลงข้อมูลระบบบันทึกคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD Quality of Care เขตสุขภาพที่ 1 ณ วันที่ 29 มีนาคม 60 เขตที่ 1 จำนวน รพ.ที่ลงข้อมูล จำนวน รพ.ทั้งหมด จำนวนผู้ป่วยที่ลงทะเบียน เชียงใหม่ 4 24 235 ลำพูน 8 326 ลำปาง 13 1,719 แพร่ 151 น่าน 12 15 1,175 พะเยา 7 9 91 เชียงราย 18 1,247 แม่ฮ่องสอน 1 รวม 49 102 4,945

37 ผลงานการลงข้อมูลระบบบันทึกคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD Quality of Care จังหวัดเชียงใหม่

38 ขอความร่วมมือลงข้อมูล
พวกเราชาวเชียงใหม่ช่วยกันนะ ค๊าบ ขอความร่วมมือลงข้อมูล ผู้ป่วยCOPD ที่มารับบริการ COPD clinic ในหน่วยบริการจังหวัดเชียงใหม่ 10,554 คน อย่างน้อย หน่วยบริการละ 20 %

39 อย่างน้อย หน่วยบริการละ 20 %
ผู้ป่วยCOPD ที่มารับบริการ COPD clinic ในหน่วยบริการจังหวัดเชียงใหม่ 10,554 คน อย่างน้อย หน่วยบริการละ 20 % รพ. จำนวน ลงข้อมูล 20 % ลงแล้ว นครพิงค์ 988 198 ฝาง 614 123 จอมทอง 803 161 1 สันป่าตอง 591 118 สันทราย 127 25 เชียงดาว 252 50 หางดง 328 66 แม่อาย 594 119 ไชยปราการ 326 65 เวียงแหง 204 41 พร้าว 448 90 สะเมิง 4 รพ. จำนวน ลงข้อมูล 20 % ลงแล้ว แม่แตง 560 112 ดอยสะเก็ด 400 80 42 สันกำแพง 631 126 4 แม่ออน 352 70 196 สารภี 267 53 แม่วาง 217 43 ดอยหล่อ 236 47 เทพรัตน์ 173 35 ฮอด 378 76 ดอยเต่า 1540 308 อมก๋อย 216 วัดจันทร์ฯ 105 21

40


ดาวน์โหลด ppt ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google