กรมกิจการเด็กและเยาวชน (ดย.) นางเทพวัลย์ ภรณวลัย ผู้อำนวยการกองส่งเสริมการพัฒนาและสวัสดิการเด็ก เยาวชน และครอบครัว (กสส.) กรมกิจการเด็กและเยาวชน (ดย.)
1 ที่มาพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ. ศ 1 ที่มาพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 1 ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันว่าด้วยอนุสัญญาสิทธิเด็ก ซึ่งทุกประเทศต้องรับประกันว่าเด็กในประเทศของตนมีสิทธิจะมีชีวิตรอด สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา และสิทธิการมีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน รวมทั้งแก้ไขปัญหาที่อาจมีผลกระทบในทางลบต่อเด็กและเยาวชน
2 การจัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนทุกระดับ 8,781 แห่ง 1. สภาเด็กและเยาวชนตำบล และสภาเด็กและเยาวชนเทศบาล (7,775 แห่ง) 2. สภาเด็กและเยาวชนอำเภอ (878 แห่ง) และสภาเด็กและเยาวชนเขต (50 แห่ง) 3. สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด (76 แห่ง) สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร (1 แห่ง) 4. สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย (1 แห่ง)
กลุ่มเด็กและเยาวชน 38 กลุ่ม 6 สดย. จังหวัด สมาชิก คือ คณะบริหาร 4 คน ประธาน 1 คน ของทุกอำเภอ คณะบริหาร ไม่เกิน 20 คน ประธาน 1 คน 3 สดย. แห่งประเทศไทย สมาชิก คือ ประธานจังหวัด 77 จังหวัด และกลุ่มเด็กและเยาวชน 38 คน รวม 115 คน 7 คณะบริหาร ไม่เกิน 25 คน ประธาน 1 คน สดย. กทม. สมาชิก คณะบริหาร ไม่เกิน 20 คน ประธาน 1 คน 5 สดย. อำเภอ สมาชิก คือ คณะบริหาร สดย.ตำบล และเทศบาลทุกคนที่อยู่ในเขตอำเภอนั้น คณะบริหาร ไม่เกิน 20 คน ประธาน 1 คน 2 ประธานสภาเด็กและเยาวชนเขต ทุกเขตใน กทม. และผู้แทนกลุ่มเด็กและเยาวชน 1. ผู้แทนจากสถาบันการศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ระดับมัธยมศึกษา ระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา ระดับละ 11 คน 2. ผู้แทนเด็กและเยาวชน ซึ่งมาจากการคัดเลือกกันเอง จากกลุ่มเด็กและเยาวชนที่ได้ลงทะเบียนไว้ตามระเบียบ ที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครกำหนด โดยคำนึงถึงความหลากหลาย ของกลุ่มเด็กและเยาวชน จำนวน 12 คน สมาชิก คือ เด็กและเยาวชนทุกคนในพื้นที่ สดย. ตำบล/เทศบาล คณะบริหาร ไม่เกิน 20 คน ประธาน 1 คน 1 สดย. เขต (กทม.) สมาชิก คือ เด็กและเยาวชนทุกคนในพื้นที่ คณะบริหาร ไม่เกิน 20 คน ประธาน 1 คน 4 ความเชื่อมโยงของสภาเด็กและเยาวชน 3
(มีอำนาจหน้าที่อยู่ในมาตรา 23, 25, 29 และ 31) บทบาทหน้าที่ของสภาเด็กและเยาวชน (มีอำนาจหน้าที่อยู่ในมาตรา 23, 25, 29 และ 31) 4 อำนาจหน้าที่ของสภาเด็กและเยาวชน ดังนี้ 1. สภาเด็กและเยาวชนตำบลและสภาเด็กและเยาวชนเทศบาล (มาตรา 23 หน้าที่ 9) 2. สภาเด็กและเยาวชนอำเภอและสภาเด็กและเยาวชนเขต (มาตรา 25 หน้าที่ 10) 3. สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดและสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร (มาตร 29 หน้าที่ 12) 4. สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย (มาตรา 31 หน้าที่ 13)
4 บทบาทหน้าที่ของสภาเด็กและเยาวชน (ต่อ) ประสานงานระหว่างสภาเด็กและเยาวชนแต่ละระดับ 2. ส่งเสริม สนับสนุน และเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน 3. จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน 4. ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกตามวัย ต่อสภาเด็กและเยาวชนในระดับถัดไป/หน่วยงาน/คณะกรรมการ กดยช. เพื่อร่วมกำหนดแนวทาง นโยบาย แผนงาน งบประมาณของต่อหน่วยงานภาครัฐ ในการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน 5. ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการประชุมและการดําเนินงานตามอํานาจหน้าที่ 6. สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยจัดทำประมวลจริยธรรม
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน 5 หัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัวในแต่ละจังหวัด ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน การจัดให้มี และการดำเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนตำบล/ เทศบาล สภาเด็กและเยาวชนอำเภอ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด (มาตรา 22, 36) บ้านพักเด็กและครอบครัว – ดย. สำนักงาน พมจ. - นำทีมบูรณาการของ พม. (ONE HOME) จัดให้มีสภาเด็กและเยาวชน ทุกระดับในจังหวัด - ร่วมมือ ส่งเสริม และประสานงานกับองค์กรส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในระดับท้องถิ่น (มาตรา 8 ) กรมการปกครอง ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นที่ปรึกษาและแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด (มาตรา 26) นายอำเภอ เป็นที่ปรึกษาและแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอำเภอและตำบล/เทศบาล (มาตรา 24) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - จัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนตำบลและสภาเด็กและเยาวชนเทศบาลแล้วแต่กรณี (มาตรา 22 ) - จัดทำแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในระดับท้องถิ่นให้สอดคล้อง กับแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ และจัดสรรงบประมาณ เพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ (มาตรา 8)
5 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน
5 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน
5 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน
การจัดสรรงบประมาณให้แก่สภาเด็กและเยาวชน 6 1. การสนับสนุนงบประมาณให้แก่สภาเด็กและเยาวชนทุกระดับ (งบเงินอุดหนุน) โครงการ กิจกรรม สภาเด็กและเยาวชนตำบล/เทศบาล สภาเด็กและเยาวชนอำเภอ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด 1. โครงการความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน ตามกฎหมาย และกิจกรรม ที่สร้างสรรค์ ตามสถานการณ์ ในพื้นที่ 7,775 แห่ง ๆ ละ 20,000 บาท 878 อำเภอ ๆ ละ 30,000 บาท 11,680,000 บาท ตามขนาดจังหวัด 100,000 – 320,000 บาท กิจกรรมป้องกัน เอดส์/อนามัยเจริญพันธุ์ - 76 จังหวัด ๆ ละ 50,000 บาท 2.โครงการเยาวชนไทยหัวใจใสสะอาด กิจกรรมป้องกัน แก้ไขการทุจริตคอรัปชั่น 12,500 บาท * งบประมาณทั้งปี หน้าที่ 46 – 49 * ไตรมาส 1 – 2 หน้าที่ 50 – 54
แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ขั้นตอนและวิธีดำเนินงานการใช้จ่ายงบประมาณ 7 1. จัดทำแผนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (หน้าที่ 66) ลักษณะโครงการ/กิจกรรม 1. กิจกรรมที่ดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ที่ พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 กำหนด เช่น (1) การประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง (หน้าที่ 112) (2) การประชุมสามัญประจำปีของสภาเด็กและเยาวชน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ยกเว้น สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง (หน้าที่ 109 - 110) 2. กิจกรรมตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล/กระทรวง พม. 3. เป็นโครงการ/กิจกรรมเพื่อการพัฒนาศักยภาพ/ป้องกัน/คุ้มครอง/พิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน ในประเด็นปัญหาสถานการณ์ต่างๆ * แนวทางการขับเคลื่อน สดย.ต/ท . หน้าที่ 4 – 5 สดย.อ. หน้าที่ 6 – 7 สดย.จ. หน้าที่ 8 – 9 * แผนการทำกิจกรรมทุกกิจกรรม ทั้งที่ไม่ได้ใช้และใช้งบประมาณ (งบ พม. และงบอื่น)
แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ขั้นตอนและวิธีดำเนินงานการใช้จ่ายงบประมาณ (ต่อ) 7 2. การเห็นชอบและอนุมัติแผนการดำเนินงานฯ (หน้าที่ 66 - 68) (1) ตรวจสอบแผนการดำเนินงานประจำปีของสภาเด็กและเยาวชน (2) จัดประชุมเพื่อพิจารณา/ให้ข้อเสนอแนะ/คำแนะนำ และให้ความเห็นชอบในหลักการของแผนฯ โดยเชิญคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเข้าร่วมรับฟังและชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานฯ (3) เสนอแผนการดำเนินงานฯ ให้ หน. บพด. เป็นผู้อนุมัติหลักการแผนการดำเนินงานของสภาเด็ก และเยาวชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (4) ประสานให้สภาเด็กและเยาวชนเปิดสมุดบัญชีในนามของสภาเด็กและเยาวชน โดยให้คณะบริหาร สภาเด็กและเยาวชน จำนวน 2 คน และเจ้าหน้าที่ จำนวน 1 คน เป็นผู้มีอำนาจเบิกจ่าย 2 ใน 3 (หน้าที่ 113 - 114)
แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ขั้นตอนและวิธีดำเนินงานการใช้จ่ายงบประมาณ (ต่อ) 7 3. การดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานฯ 3.1 ประสานให้สภาเด็กและเยาวชนเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ 3.2 บพด. สนับสนุนงบประมาณแก่สภาเด็กและเยาวชน และสั่งจ่ายเงินเป็นเช็ค ซึ่งจะโอนงบประมาณ ของสภาเด็กและเยาวชน เป็นรายโครงการ/กิจกรรมตามแผน ให้ทั้งหมดตามแผนการดำเนินงานฯ ก็ได้ แล้วแต่ บพด. พิจารณาเห็นควร 3.3 สภาเด็กและเยาวชนดำเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมตามแผนฯ 3.4 สภาเด็กและเยาวชนรายงานผลการดำเนินงานตามข้อ 3.3 3.5 บพด. สรุปรวบรวมรายงานส่งกองส่งเสริมการพัฒนาและสวัสดิการ เด็ก เยาวชน และครอบครัว กรมกิจการเด็กและเยาวชน ทุกไตรมาส * บพด. หมายถึง บ้านพักเด็กและครอบครัว * แบบฟอร์มโครงการ หน้าที่ 69 - 70
8 การรายงานผลการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน ประจำปี 2561 1. แบบรายงานผลการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน ประจำปี 2561 แบบฟอร์ม สดย.14 (หน้าที่ 72 ) 2. ใบทะเบียนรายชื่อเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม แบบฟอร์ม สดย.15 (หน้าที่ 73 ) 3. แบบรายงานผลการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน ปีงบประมาณ 2561 แบบฟอร์ม สดย.16 (หน้าที่ 74 ) 4. ทัศนคติต่อการทุจริตคอรัปชั่นสำหรับสภาเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชน แบบฟอร์ม สดย.17 (หน้าที่ 75) บพด. รายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อนสภาเด็กและเยาวชนทุกระดับ (ตามแบบฟอร์ม สดย.14-17) ไตรมาส 1 ภายใน 31 ธ.ค. 60 ไตรมาส 2 ภายใน 31 มี.ค. 61 ไตรมาส 3 ภายใน 30 มิ.ย. 61 ไตรมาส 4 ภายใน 30 ก.ย. 61
9 การประชุมสามัญประจำปี สำหรับในปี 2561 การประชุมสามัญประจำปี (หน้าที่ 109 – 111) วาระการประชุมว่าด้วยการจับสลากออกกึ่งหนึ่งของคณะบริหาร (มาตรา 33) 1) เตรียมการก่อนจัดประชุม 1.1 กำหนดวันจัดประชุม และขออนุมัติจัดประชุม (ก่อนวันจัดประชุม 1 เดือน) 1.2 จัดทำประกาศ/ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้สมาชิกมาลงทะเบียนแสดงตนเพื่อเข้าร่วมประชุม (7 วันก่อนวันลงทะเบียน) 1.3 รับลงทะเบียนแสดงตนของสมาชิกเพื่อเข้าร่วมประชุมสามัญประจำปี (เด็กและเยาวชนทุกคน ใน อบต./เทศบาล) (1 – 3 วันตามบริบทพื้นที่) 1.4 ประกาศรายชื่อสมาชิกที่ได้ลงทะเบียนไว้ (7 วันก่อนประชุม) 1.5 ประธาน สดย. ทำหนังสือเชิญ/ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกที่ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม (7 วันก่อนประชุม)
9 การประชุมสามัญประจำปี (ต่อ) 2) จัดประชุมสามัญประจำปี (1 วัน) 2) จัดประชุมสามัญประจำปี (1 วัน) 2.1 การนับองค์ประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง 2.2 จดและสรุปรายงานการประชุม 3) การสรุปรายงานและแจ้งเวียนให้สมาชิกรับรองรายงานฯ (7 วัน หลังจากประชุม) แบบฟอร์ม หน้าที่ 78 *รายชื่อคณะบริหารชุดใหม่ 4) ส่งรายงานการประชุมให้ บพด. (20 วัน หลังจากประชุม) 4.1 รายงานการประชุมสามัญประจำปี 4.2 เอกสารใบสำคัญต่างๆ * ลงทะเบียนเฉพาะ สดย.ตำบล/เทศบาล
มาตรฐานสภาเด็กและเยาวชน 10 เพื่อจะส่งเสริมให้สภาเด็กและเยาวชนเป็นองค์กรที่มีระบบโครงสร้างการบริหารจัดการ ที่มีคุณภาพก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานพัฒนาสภาเด็กและเยาวชนให้มีความเข้มแข็ง มีศักยภาพเป็นที่ประจักษ์ต่อสังคม ประกอบด้วยข้อกำหนด จำนวน 4 ด้าน ได้แก่ (หน้าที่ 82 – 98) ที่ ข้อกำหนด องค์ประกอบ ตัวชี้วัด 1 ด้านการจัดองค์กรและการบริหาร 10 องค์ประกอบ 18 ตัวชี้วัด (เอกสารหน้า 84-90) 2 ด้านการดำเนินงาน 12 องค์ประกอบ 21 ตัวชี้วัด (เอกสารหน้า 90-95) 3 ด้านคุณภาพในการดำเนินงาน 4 องค์ประกอบ 6 ตัวชี้วัด (เอกสารหน้า 96-97) 4 ด้านการมีส่วนร่วม 2 องค์ประกอบ 3 ตัวชี้วัด (เอกสารหน้า 97-98) รวม 4 ข้อกำหนด 28 องค์ประกอบ 48 ตัวชี้วัด
มาตรฐานสภาเด็กและเยาวชน (ต่อ) 10 มาตรฐานสภาเด็กและเยาวชน (ต่อ) เกณฑ์การประเมิน สภาเด็กและเยาวชนที่ดำเนินการได้มาตรฐานสภาเด็กและเยาวชนจะต้อง ดำเนินการผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดร้อยละ 70 ที่ ระดับ จำนวนตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ การประเมิน 1 สภาเด็กและเยาวชนตำบล/เทศบาล 36 ตัวชี้วัด 70 % 26 ตัวชี้วัด 2 สภาเด็กและเยาวชนอำเภอ/เขต 46 ตัวชี้วัด 33 ตัวชี้วัด 3 สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด/กรุงเทพมหานคร 47 ตัวชี้วัด 4 สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย