การประกันคุณภาพภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
Advertisements

มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา ในสถานศึกษา EA 5103
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การระดมความคิดเห็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลของ กลุ่มที่ 9 ภาคเหนือตอนบน แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน.
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
การประกันคุณภาพการศึกษา ในสถานศึกษา EA 5103
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา

หลักการทำประกันคุณภาพภายใน ๑.ดำเนินการอย่างเป็นระบบ มีมาตรฐานเป็นเป้าหมายในการดำเนินการ เน้นการป้องกันมากกว่าการแก้ไข ๒.การมีส่วนร่วมจากบุคลากรภายในสถานศึกษา ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัดร่วมกันดำเนินการ ๓.ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษา ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

ทำไมต้องทำ การแสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ เป็นหน้าที่ของสถานศึกษา ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ในหมวดที่ 6 เป็นกลยุทธ์ของหน่วยงานต้นสังกัด สพฐ. เน้นการประกันคุณภาพภายใน การแสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้

ทำเพื่ออะไร 1.สร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ว่าผู้เรียนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงเท่าเทียมและมีคุณภาพได้มาตรฐานที่กำหนดไว้

ทำเพื่ออะไร 2.เพื่อให้สถานศึกษาดำเนินการอย่างมีแบบแผน เป็นระบบ ในการพัฒนา ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมิน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตาม มาตรฐานการศึกษา ที่กำหนดจากกระทรวงศึกษาธิการ (สพฐ.)

ทำอย่างไร ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1.ระบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Quality Control) โดยการการ กำหนดมาตรฐาน และการ พัฒนาสู่ มาตรฐาน ระบบการตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรุง คุณภาพ(Quality Audit and Intervention) 3. ระบบการประเมินและรับรองคุณภาพ(Quality Assessment and Accreditation)

การประกันคุณภาพ

กระบวนการประกันคุณภาพภายใน 1.การกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา 2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3.การทำแผนพัฒนาสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา(SIP) 4.การดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา 5.การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา 6.การประเมินคุณภาพการศึกษา 7.การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ( SAR) 8.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

๑.การกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา 1. ไม่มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา 2. มีประกาศแต่ขาดหลักฐาน 3.มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา หรือ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างใดอย่างหนึ่ง 4.มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา และ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานของหน่วยงานต้นสังกัด (สพฐ. 18 มาตรฐาน) มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย จำแนกเป็น ๔ ด้าน คือ ๑. ด้านคุณภาพเด็ก ๘ มาตรฐาน ๓๒ ตัวบ่งชี้ ๒.ด้านการจัดการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๑๔ ตัวบ่งชี้ ๓.ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ๖ มาตรฐาน ๓๒ ตัวบ่งชี้ ๔.ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๔ ตัวบ่งชี้

มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำแนกเป็น ๔ ด้าน คือ ๑.ด้านคุณภาพผู้เรียน ๘ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบ่งชี้ ๒.ด้านการจัดการเรียนการสอน ๒ มาตรฐาน ๑๔ ตัวบ่งชี้ ๓.ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ๖ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบ่งชี้ ๔.ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๔ ตัวบ่งชี้

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีจิตสำนึก ในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทำงาน จนสำเร็จ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มาตรฐานที่ ๔ เด็กสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะเบื้องต้น มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีความสนใจ ใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มาตรฐานที่ ๘ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา

มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถ มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชมได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้า กับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถ ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชมได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้า กับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง 9.1 มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 9.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี กับ เด็ก/ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อนร่วมงาน 9.3 มุ่งมั่นอุทิศตนในการสอน 9.4 แสวงหาความรู้ เทคนิคใหม่ๆ รับฟังความคิดผู้อื่น

มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชมได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้า กับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง 9.5 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่า ขึ้นไป 9.6 สอนตรงตามวิชาเอก-โท หรือตรงตามความถนัด 9.7 มีจำนวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครูและบุคลากรสนับสนุน) 9.8 ได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอน ตามที่คุรุสภากำหนด

มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑๐.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ เป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามารถในการจัดการเรียนการอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้เรียน ๑๐.๕ มีการประเมินผลการเรียนการอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียน ๑๐.๖ มีการนำผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของผุ้เรียนและนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน

มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นำ และมี ความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหารงาน และพัฒนา องค์กรอย่างเป็นระบบครบวงจร มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา ตามธรรมชาติ

มาตรฐานด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนา

2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ระดับ 1-2 ระดับ 3 ระดับ 4 1-2 ไม่มีโครงสร้างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา2.มีโครงสร้าง แต่ไม่มีร่องรอยว่าบุคลากรรับรู้และมีส่วนร่วม บุคลากรบางส่วน (ร้อยละ 50ขึ้นไป) รับรู้ว่ามีโครงสร้างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา บุคลากรทุกคนรับรู้ว่ามีโครงสร้างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 1-2 ไม่มีแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและไม่มีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา มีแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแต่ไม่มีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา มีแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและมีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา

2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ระดับ 1-2 ระดับ 3 ระดับ4 1.ไม่มีการพัฒนายกระดับระบบข้อมูลสารสนเทศ 2.มีแต่ไม่เป็นระบบ มีการพัฒนาระบบสารสนเทศทันสมัยทุกปีการศึกษา มีการพัฒนายกระดับระบบสารสนเทศให้ทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด

3.การทำแผนพัฒนาสถานศึกษา ที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา(SIP) 1-2 ทุกโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่มีขั้นตอนนำไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน 3 โครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาน้อยกว่าร้อยละ 50 มีขั้นตอนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างชัดเจน 4. ทุกโครงการ/กิจกรรม ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษามีขั้นตอนนำไปสู่การปฏิบัติอย่าง ชัดเจน

4.การดำเนินงานตาม แผนพัฒนาสถานศึกษา 1 ไม่มีร่องรอยการ พิจารณา ยอมรับให้ข้อคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะใน แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 2.ไม่มีร่องรอยการ มอบหมายการ ปฏิบัติงานใน แผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา 3. มีการ มอบหมาย การปฏิบัติงาน ในแผนพัฒนา คุณภาพ การศึกษาอย่าง ไม่เป็นทางการ 4. มีการ เป็นทางการ

5.การตรวจสอบและ ทบทวนคุณภาพการศึกษา 1-2 ไม่มีการนำเกณฑ์ความก้าวหน้าของเรื่องหรือตัวบ่งชี้ ที่ต้องการตรวจสอบทบทวนคุณภาพฯ และ แจ้งเกณฑ์ฯให้บุคลากรทราบ 3.บุคลากรบางส่วน(ร้อยละ 50ขึ้นไป) รับรู้ และยอมรับ เกณฑ์ความก้าวหน้าของเรื่องหรือตัวบ่งชี้ ที่ต้องการตรวจสอบทบทวนคุณภาพฯ 4.บุคลากรทุกคนรับรู้ และยอมรับ เกณฑ์ความก้าวหน้าของเรื่องหรือตัวบ่งชี้ ที่ต้องการตรวจสอบทบทวนคุณภาพฯ

6.การประเมินคุณภาพการศึกษา 1 ไม่มีแผนการประเมินคุณภาพการศึกษา 2. มีแผนการเพียง บางด้านไม่สมบูรณ์ 3.มีแผนการประเมินคุณภาพไม่ครบ 3 ด้าน 4. มีแผนการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้ง 3 ด้าน คือผลสัมฤทธิ์ คุณลักษณะสำคัญและคุณภาพตามมาตรฐาน

7.การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ( SAR) 1-2 ไม่มีร่องรอยว่าได้เผยแพร่ต่อสาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง หรือรายงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่ตรงตามกำหนดเวลา 3.เผยแพร่เฉพาะผู้เกี่ยวข้อง และรายงานต่อสพท. กำหนดเวลา 4.รายงานคุณภาพประจำปี เผยแพร่ต่อสาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง และรายงานต่อต้นสังกัดตามกำหนดเวลา(ภายในเดือน พฤษภาคมของทุกปี)

8.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 1.ไม่มีการวิเคราะห์ผลรายงานคุณภาพประจำปี 2.มีแต่ขาดหลักฐาน 3.มีการวิเคราะห์ผลรายงานคุณภาพประจำปีบาง กิจกรรมที่เป็นจุดอ่อนที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา 4.มีการวิเคราะห์ผลรายงานคุณภาพ ประจำปีทุกกิจกรรมที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

กระบวนการพัฒนาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีมาตรฐานเป็นเป้าหมาย (School Improvement Plan : SIP) การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ( SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ASSESSMENT

สพท. สมศ. 1.มาตรฐานการศึกษาของชาติ 1.สถานศึกษา พ.ร.บ. ร.ร.(SAR) 1. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน/ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย 1.มาตรฐานที่เขตพื้นที่เพิ่มเติม 1.สถานศึกษา ปัญหา/ความต้องการ ความร่วมมือของชุมชน 1.มาตรฐานการศึกษา / เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา พ.ร.บ. นโยบายต้นสังกัด วิสัยทัศน์,พันธกิจ 2.สารสนเทศ แผนการศึกษาของชาติ 3.แผนพัฒนาการศึกษา (School Improvement Plan) ศักยภาพสถานศึกษา (ครู ผู้บริหาร ผู้เรียน) 4.การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา 4.จัดการเรียน การสอน 4.การจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณภาพผู้เรียน 4.การพัฒนาบุคลากร (ภาวะผู้นำ/มืออาชีพ) 4.การพัฒนาองค์กร ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ 4.พัฒนาสภาพแวดล้อม และการให้บริการ 5.การตรวจสอบและทบทวนภายใน อย่างน้อย 1 ครั้ง/ 3ปี สพท. ร.ร.(SAR) 6.การประเมินคุณภาพภายใน/นอก สมศ. ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง 7.รายงานผล 8.พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง.

สวัสดี