การประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา
หลักการทำประกันคุณภาพภายใน ๑.ดำเนินการอย่างเป็นระบบ มีมาตรฐานเป็นเป้าหมายในการดำเนินการ เน้นการป้องกันมากกว่าการแก้ไข ๒.การมีส่วนร่วมจากบุคลากรภายในสถานศึกษา ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัดร่วมกันดำเนินการ ๓.ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษา ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ทำไมต้องทำ การแสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ เป็นหน้าที่ของสถานศึกษา ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ในหมวดที่ 6 เป็นกลยุทธ์ของหน่วยงานต้นสังกัด สพฐ. เน้นการประกันคุณภาพภายใน การแสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
ทำเพื่ออะไร 1.สร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ว่าผู้เรียนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงเท่าเทียมและมีคุณภาพได้มาตรฐานที่กำหนดไว้
ทำเพื่ออะไร 2.เพื่อให้สถานศึกษาดำเนินการอย่างมีแบบแผน เป็นระบบ ในการพัฒนา ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมิน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตาม มาตรฐานการศึกษา ที่กำหนดจากกระทรวงศึกษาธิการ (สพฐ.)
ทำอย่างไร ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1.ระบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Quality Control) โดยการการ กำหนดมาตรฐาน และการ พัฒนาสู่ มาตรฐาน ระบบการตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรุง คุณภาพ(Quality Audit and Intervention) 3. ระบบการประเมินและรับรองคุณภาพ(Quality Assessment and Accreditation)
การประกันคุณภาพ
กระบวนการประกันคุณภาพภายใน 1.การกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา 2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3.การทำแผนพัฒนาสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา(SIP) 4.การดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา 5.การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา 6.การประเมินคุณภาพการศึกษา 7.การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ( SAR) 8.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๑.การกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา 1. ไม่มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา 2. มีประกาศแต่ขาดหลักฐาน 3.มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา หรือ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างใดอย่างหนึ่ง 4.มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา และ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานของหน่วยงานต้นสังกัด (สพฐ. 18 มาตรฐาน) มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย จำแนกเป็น ๔ ด้าน คือ ๑. ด้านคุณภาพเด็ก ๘ มาตรฐาน ๓๒ ตัวบ่งชี้ ๒.ด้านการจัดการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๑๔ ตัวบ่งชี้ ๓.ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ๖ มาตรฐาน ๓๒ ตัวบ่งชี้ ๔.ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๔ ตัวบ่งชี้
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำแนกเป็น ๔ ด้าน คือ ๑.ด้านคุณภาพผู้เรียน ๘ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบ่งชี้ ๒.ด้านการจัดการเรียนการสอน ๒ มาตรฐาน ๑๔ ตัวบ่งชี้ ๓.ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ๖ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบ่งชี้ ๔.ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๔ ตัวบ่งชี้
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีจิตสำนึก ในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทำงาน จนสำเร็จ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มาตรฐานที่ ๔ เด็กสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะเบื้องต้น มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีความสนใจ ใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มาตรฐานที่ ๘ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา
มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถ มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชมได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้า กับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถ ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชมได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้า กับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง 9.1 มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 9.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี กับ เด็ก/ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อนร่วมงาน 9.3 มุ่งมั่นอุทิศตนในการสอน 9.4 แสวงหาความรู้ เทคนิคใหม่ๆ รับฟังความคิดผู้อื่น
มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชมได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้า กับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง 9.5 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่า ขึ้นไป 9.6 สอนตรงตามวิชาเอก-โท หรือตรงตามความถนัด 9.7 มีจำนวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครูและบุคลากรสนับสนุน) 9.8 ได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอน ตามที่คุรุสภากำหนด
มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑๐.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ เป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามารถในการจัดการเรียนการอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้เรียน ๑๐.๕ มีการประเมินผลการเรียนการอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียน ๑๐.๖ มีการนำผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของผุ้เรียนและนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นำ และมี ความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหารงาน และพัฒนา องค์กรอย่างเป็นระบบครบวงจร มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา ตามธรรมชาติ
มาตรฐานด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนา
2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ระดับ 1-2 ระดับ 3 ระดับ 4 1-2 ไม่มีโครงสร้างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา2.มีโครงสร้าง แต่ไม่มีร่องรอยว่าบุคลากรรับรู้และมีส่วนร่วม บุคลากรบางส่วน (ร้อยละ 50ขึ้นไป) รับรู้ว่ามีโครงสร้างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา บุคลากรทุกคนรับรู้ว่ามีโครงสร้างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 1-2 ไม่มีแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและไม่มีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา มีแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแต่ไม่มีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา มีแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและมีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา
2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ระดับ 1-2 ระดับ 3 ระดับ4 1.ไม่มีการพัฒนายกระดับระบบข้อมูลสารสนเทศ 2.มีแต่ไม่เป็นระบบ มีการพัฒนาระบบสารสนเทศทันสมัยทุกปีการศึกษา มีการพัฒนายกระดับระบบสารสนเทศให้ทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด
3.การทำแผนพัฒนาสถานศึกษา ที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา(SIP) 1-2 ทุกโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่มีขั้นตอนนำไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน 3 โครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาน้อยกว่าร้อยละ 50 มีขั้นตอนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างชัดเจน 4. ทุกโครงการ/กิจกรรม ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษามีขั้นตอนนำไปสู่การปฏิบัติอย่าง ชัดเจน
4.การดำเนินงานตาม แผนพัฒนาสถานศึกษา 1 ไม่มีร่องรอยการ พิจารณา ยอมรับให้ข้อคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะใน แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 2.ไม่มีร่องรอยการ มอบหมายการ ปฏิบัติงานใน แผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา 3. มีการ มอบหมาย การปฏิบัติงาน ในแผนพัฒนา คุณภาพ การศึกษาอย่าง ไม่เป็นทางการ 4. มีการ เป็นทางการ
5.การตรวจสอบและ ทบทวนคุณภาพการศึกษา 1-2 ไม่มีการนำเกณฑ์ความก้าวหน้าของเรื่องหรือตัวบ่งชี้ ที่ต้องการตรวจสอบทบทวนคุณภาพฯ และ แจ้งเกณฑ์ฯให้บุคลากรทราบ 3.บุคลากรบางส่วน(ร้อยละ 50ขึ้นไป) รับรู้ และยอมรับ เกณฑ์ความก้าวหน้าของเรื่องหรือตัวบ่งชี้ ที่ต้องการตรวจสอบทบทวนคุณภาพฯ 4.บุคลากรทุกคนรับรู้ และยอมรับ เกณฑ์ความก้าวหน้าของเรื่องหรือตัวบ่งชี้ ที่ต้องการตรวจสอบทบทวนคุณภาพฯ
6.การประเมินคุณภาพการศึกษา 1 ไม่มีแผนการประเมินคุณภาพการศึกษา 2. มีแผนการเพียง บางด้านไม่สมบูรณ์ 3.มีแผนการประเมินคุณภาพไม่ครบ 3 ด้าน 4. มีแผนการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้ง 3 ด้าน คือผลสัมฤทธิ์ คุณลักษณะสำคัญและคุณภาพตามมาตรฐาน
7.การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ( SAR) 1-2 ไม่มีร่องรอยว่าได้เผยแพร่ต่อสาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง หรือรายงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่ตรงตามกำหนดเวลา 3.เผยแพร่เฉพาะผู้เกี่ยวข้อง และรายงานต่อสพท. กำหนดเวลา 4.รายงานคุณภาพประจำปี เผยแพร่ต่อสาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง และรายงานต่อต้นสังกัดตามกำหนดเวลา(ภายในเดือน พฤษภาคมของทุกปี)
8.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 1.ไม่มีการวิเคราะห์ผลรายงานคุณภาพประจำปี 2.มีแต่ขาดหลักฐาน 3.มีการวิเคราะห์ผลรายงานคุณภาพประจำปีบาง กิจกรรมที่เป็นจุดอ่อนที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา 4.มีการวิเคราะห์ผลรายงานคุณภาพ ประจำปีทุกกิจกรรมที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
กระบวนการพัฒนาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีมาตรฐานเป็นเป้าหมาย (School Improvement Plan : SIP) การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ( SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ASSESSMENT
สพท. สมศ. 1.มาตรฐานการศึกษาของชาติ 1.สถานศึกษา พ.ร.บ. ร.ร.(SAR) 1. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน/ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย 1.มาตรฐานที่เขตพื้นที่เพิ่มเติม 1.สถานศึกษา ปัญหา/ความต้องการ ความร่วมมือของชุมชน 1.มาตรฐานการศึกษา / เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา พ.ร.บ. นโยบายต้นสังกัด วิสัยทัศน์,พันธกิจ 2.สารสนเทศ แผนการศึกษาของชาติ 3.แผนพัฒนาการศึกษา (School Improvement Plan) ศักยภาพสถานศึกษา (ครู ผู้บริหาร ผู้เรียน) 4.การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา 4.จัดการเรียน การสอน 4.การจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณภาพผู้เรียน 4.การพัฒนาบุคลากร (ภาวะผู้นำ/มืออาชีพ) 4.การพัฒนาองค์กร ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ 4.พัฒนาสภาพแวดล้อม และการให้บริการ 5.การตรวจสอบและทบทวนภายใน อย่างน้อย 1 ครั้ง/ 3ปี สพท. ร.ร.(SAR) 6.การประเมินคุณภาพภายใน/นอก สมศ. ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง 7.รายงานผล 8.พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง.
สวัสดี