การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ด้านบริหารงานวิชาการ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ชุมพรน่าอยู่ ประตูทอง ๒ ฝั่งทะเล        แผนยุทธศาสตร์ โครงการ PMQA ๑ การนำองค์กร PMQA ๒ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ PMQA ๓ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
การเขียนรายงาน ผลการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา.
ฝ่ายนโยบาย แผน และประกันคุณภาพการศึกษา งานนโยบาย แผน งานข้อมูล สารสนเทศ งานมาตรฐาน การศึกษาและ งานประกัน คุณภาพ การศึกษา งานนิเทศ กำกับ ติดตามและ ประเมินผล.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
โดย ดร. สิทธิชัย มูลเขียน ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพ สุริยา ( เทพสุริยา ) ( เทพสุริยา ) ส่วนราชการที่รับผิดชอบ ภารกิจการจัดการศึกษาของ อปท. อบจ. เทศบาลอบต. กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรม.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
การบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ – 2561)
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การพัฒนาระบบประเมินตนเอง
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา ตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา นางธิติกาญจน์ กุลพัฒน์เศรษฐ ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพะเยา

การปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา 1. ปรับแก้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันฯ พ.ศ. 2553 2. สถานศึกษา ทำหน้าที่ประกันคุณภาพภายใน 3. บทบาทของกระทรวงฯ หน่วยงานต้นสังกัด และสมศ. 3.1 พัฒนามาตรฐาน Quality code 3.2 วางระบบ ช่วยเหลือการจัดทำ SAR 3.3 ซักซ้อมทำความเข้าใจกับระบบการประเมินแนวใหม่ 4. การพัฒนาผู้ประเมินภายในให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ 5. การส่งเสริมให้ความช่วยเหลือ สร้างความเข้มแข็งการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา

กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ ฯ พ.ศ. 2553 ไม่สอดคล้องกับหลักการประกันคุณภาพการศึกษาที่แท้จริง จึงส่งผลให้การประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอก ไม่สัมพันธ์กันเกิดความซับซ้อนและคลาดเคลื่อนจากการปฏิบัติ ทำให้ไม่สะท้อนความเป็นจริงและเป็นการสร้างภาระแก่สถานศึกษา และบุคลากรในสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานภายนอกเกินความจำเป็น

กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 2 การประกันคุณภาพการศึกษา หมายความว่า การประเมินผล และติดตาม ตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สำนักงาน หมายความว่า สำนักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

ข้อ 3 ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการประกาศ พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และดำเนินการตามแผน ที่กำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี

หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษา มีหน้าที่ในการให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนำสถานศึกษา ข้อ 4 เมื่อได้รับการรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามข้อ 3 แล้วให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาจัดส่งรายงานดังกล่าวพร้อมกับประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการ ให้มีการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ ซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากผู้มีส่วนได้เสียกับสถานศึกษาแห่งนั้นให้แก่สำนักงานเพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก

ให้สำนักงานดำเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่ สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษานั้นๆ เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษานั้น ติดตามผลการดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามวรรคสอง

ทิศทางการประกันคุณภาพการศึกษาตามกฎกระทรวง (ใหม่) 1. ระบบการประเมินภายนอกมีเป้าหมายประเมินเพื่อตรวจสอบ และพัฒนา 2. สถานศึกษาตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาระบบประกันฯเพื่อสะท้อนผล การพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด 3. สถานศึกษาประเมินตนเองทุกปี ตามมาตรฐานและเป้าหมายที่กำหนด แล้วเขียน SAR เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. ต้นสังกัด มีหน้าที่ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนำเพื่อพัฒนาคุณภาพ 5. ศธ./หน่วยงานต้นสังกัด/สมศ./ผู้เกี่ยวข้อง มีหน้าที่ร่วมกันกำหนด มาตรฐาน/แนวทาง (Quality code) ให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทาง

ทิศทางการประกันคุณภาพการศึกษาตามกฎกระทรวง (ใหม่) 6. กระทรวงและสมศ.พัฒนาผู้ประเมินภายนอกร่วมกัน 7. สมศ. ทำหน้าที่ประเมิน และติดตามการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด 8. สมศ.กับหน่วยงานต้นสังกัด วางระบบประกันคุณภาพภายนอกร่วมกัน

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ใหม่) มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน (6/8) 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน (4/8) มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ ของผู้บริหารสถานศึกษา (4/7)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (3/13) มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายใน ที่มีประสิทธิผล (1/3)

ระดับคุณภาพของมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี 4 ระดับ ได้แก่ 4 หมายถึง ระดับดีเยี่ยม 3 หมายถึง ระดับดี 2 หมายถึง ระดับพอใช้ 1 หมายถึง ระดับปรับปรุง

ขอบคุณ และสวัสดีค่ะ