สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลป่าสัก อำเภอ เมือง จังหวัดลำพูน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย สุนทร วิเลิศสัก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทางการจัดตั้งและพัฒนา สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
แนวทางการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

การประเมินผลการพัฒนา กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต --------------------- ประเมินทำไม ประเมินเพื่ออะไร กลุ่มจะได้อะไรจากการประเมินฯ …………………………………………..

แบบสำรวจชุดนี้จัดทำขึ้น เพื่อใช้สำรวจผลการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ปีละ ๑ ครั้ง ในเดือนกันยายนของทุกปี ข้อมูลที่ได้ กรมการพัฒนาชุมชน จะนำมาจัดระดับการพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต และเป็นฐานข้อมูลในการกำหนดแผนงานและแนวทาง เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ให้มีประสิทธิภาพ

แบบสำรวจการประเมินผลการพัฒนากลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต ************** ประกอบด้วย โครงสร้าง ๔ ด้าน ตัวชี้วัดทั้งหมด ๓๒ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดบังคับ ๑๐ ตัว

๑. ด้านโครงสร้างและกระบวนการทำงาน ๑.๑ คณะกรรมการ ๑.๒ สมาชิก ๑.๓ ระเบียบข้อบังคับ ๑.๔ ที่ทำการกลุ่ม ๑.๕ การบริหารจัดการ ๑.๖ ระบบข้อมูล ๑.๗ กระบวนการทำงานในรูปเครือข่าย

๒. ด้านการบริหารเงินทุนและทรัพยากร ๒.๑ ความมีวินัยทางการบริหารเงินทุนและการควบคุมการเงิน ๒.๒ การจัดทำบัญชี เงินสด-รับ-จ่าย งบกำไรขาดทุนและงบดุล ๒.๓ ความโปร่งใส ๒.๔ ความมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเงินทุน

๓. ด้านการพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร ๓.๑ การพัฒนาความรู้/ศักยภาพแก่คณะกรรมการ ๓.๒ การพัฒนาความรู้/ศักยภาพแก่สมาชิก ๓.๓ การพัฒนาขีดความสามารถของกลุ่ม

๔. ด้านผลประโยชน์ต่อสมาชิกและชุมชน ๔.๑ การจัดสรรผลประโยชน์ ๔.๒ การจัดสวัสดิการ

ตัวชี้วัดบังคับ ข้อ ๓. การประชุมคณะกรรมการ ข้อ ๓. การประชุมคณะกรรมการ ข้อ ๔. สัดส่วนของสมาชิกกับจำนวนราษฎรในหมู่บ้าน ข้อ ๕. การส่งเงินสัจจะสะสม ข้อ ๘. ระเบียบข้อบังคับของกลุ่ม ข้อ ๑๒. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการตัดสินใจดำเนินกิจกรรม ตามแผนธุรกิจของกลุ่มฯ หรือแผนการดำเนินงานของกลุ่ม ข้อ ๑๓. การประชุมใหญ่สามัญประจำปี

ข้อ ๑๗. การจัดทำบัญชีเงินสด-รับ-จ่าย งบกำไรขาดทุนและงบดุล ข้อ ๒๐. การตรวจสอบบัญชีและหลักฐานการเงินต่างๆ ของกลุ่ม ข้อ ๒๙. เป็นแกนนำในการดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลด้าน แก้ไขปัญหาความยากจน ข้อ ๓๐. การจัดสรรผลกำไรของกลุ่ม

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด ลักษณะการดำเนินงาน/ระดับคะแนน รหัสกลุ่ม แบบสำรวจข้อมูลการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เพื่อประเมินผลการพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ชื่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต(บ้าน/ตำบล)...................................... หมู่ที่..................... ตำบล.....................................อำเภอ...............................จังหวัด........................................ 1. ด้านโครงสร้างและกระบวนการทำงาน ที่ องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด ลักษณะการดำเนินงาน/ระดับคะแนน ค่าคะแนน ที่ได้ 1 2 3 1. คณะกรรมการ การได้มาของคณะกรรมการ กรรมการน้อย กว่าร้อยละ 50 มาจากการ เลือกตั้งโดย สมาชิก กรรมการตั้งแต่ ร้อยละ 50 แต่ไม่ ถึงร้อยละ 100  กรรมการทุก คน (ร้อยละ 100) มาจาก การเลือกตั้ง โดยสมาชิก .......3........

2. บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ ของคณะกรรม- การ  มีการกำหนด ชัดเจนแต่ ปฏิบัติตาม บทบาทน้อย กว่าร้อยละ 50 บทบาทร้อยละ 50-75 ชัดเจนและ บทบาทมาก กว่าร้อยละ 75 .......1........ 3. การประชุม คณะกรรมการ ประชุมปีละ 1-2 ครั้ง แล้วแต่ สถานการณ์ และมีการจด บันทึกรายงาน  ประชุมอย่าง น้อย 3 เดือน ต่อครั้ง และมี การจดบันทึก รายงานการ ประชุม  ประชุมเป็น ประจำทุกเดือน ................

4. สมาชิก สัดส่วนสมาชิก กับจำนวน ราษฎรใน หมู่บ้าน  ราษฎรใน หมู่บ้านเป็น สมาชิกกลุ่ม น้อยกว่าร้อย ละ 50 ระหว่างร้อยละ 50-75 มากกว่าร้อย ละ 75 ................. 5. การส่งเงิน สัจจะสะสม  สมาชิกน้อย กว่าร้อยละ 50 ส่งเงิน เป็นประจำ ทุกเดือน  สมาชิกร้อยละ 50-75 ส่งเงิน สัจจะ-สะสม เป็นประจำทุก เดือน  สมาชิกมาก 75 ส่งเงิน ทุกเดือนและ ตรงตาม กำหนด

6. การส่งคืนเงินกู้  สมาชิกที่ กู้เงินจากกลุ่ม ส่งคืนเงินกู้ตรง ตามกำหนด น้อยกว่าร้อย ละ 60  สมาชิกที่กู้เงิน จากกลุ่มส่งคืน เงินกู้ตรงตาม กำหนดร้อยละ 60-89 กำหนดเวลา ร้อยละ 90 ขึ้นไป ................ 7. การเพิ่มวงเงิน สัจจะสะสม ในแต่ละปี  สมาชิก ทั้งหมดส่งเงิน เท่าเดิม  สมาชิกน้อย กว่าร้อยละ 25 เพิ่มวงเงิน  สมาชิกตั้งแต่ ร้อยละ 25 ขึ้นไป

8. ของกลุ่ม กำหนดโดย คณะกรรมการ บริหาร และ บันทึกเป็น ลายลักษณ์ อักษร ระเบียบข้อบังคับ ของกลุ่ม กำหนดโดย คณะกรรมการ บริหาร และ บันทึกเป็น ลายลักษณ์ อักษร  ผ่านเวที ประชาคม และ ลายลักษณ์อักษร เก็บไว้ที่กลุ่ม ประชาคมบันทึก เป็นลายลักษณ์ อักษร และมี การปรับปรุงให้ สอดคล้องกับ สถานการณ์ ปัจจุบัน ................ 9. การปฏิบัติตาม สมาชิก ปฏิบัติตาม ระเบียบ ข้อบังคับ เป็นบางข้อ สมาชิกปฏิบัติ ตามระเบียบ ข้อบังคับทุกข้อ แต่ไม่สม่ำเสมอ  สมาชิกปฏิบัติ อย่างสม่ำเสมอ

10. ที่ทำการกลุ่ม สถานที่ทำการ กลุ่มออมทรัพย์- เพื่อการผลิต  อาศัยอาคาร หรือบ้านของ บุคคลเป็น ทั้งมีหรือไม่มี การแสดงมูล  มีอาคารถาวร มีป้ายชื่อกลุ่ม ป้ายแสดงข้อมูล แต่ไม่เป็น ปัจจุบัน เป็นของตนเอง ที่เป็นปัจจุบัน ................ 11. การบริหารจัดการ แผนการดำเนิน ธุรกิจของกลุ่ม หรือแผนการ ดำเนินงาน กลุ่มออมทรัพย์ฯ มีการ วางแผน การ แต่ไม่ปฏิบัติ ตามแผน  มีการ แต่ปฏิบัติตาม แผนเป็นบาง เรื่อง และปฏิบัติตาม แผนทุกเรื่อง

12. สมาชิกมีส่วนร่วมฯ น้อยกว่าร้อยละ 50  สมาชิกมี ส่วนร่วมฯ ร้อยละ การมีส่วนร่วมของ สมาชิก ในการ ตัดสินใจดำเนิน กิจกรรมตามแผน ธุรกิจของกลุ่ม หรือ แผนการดำเนิน งานของกลุ่มฯ สมาชิกมีส่วนร่วมฯ น้อยกว่าร้อยละ 50  สมาชิกมี ส่วนร่วมฯ ร้อยละ 50-75  สมาชิกมีส่วนร่วมฯ มากกว่าร้อยละ 75 ............. 13. การประชุมใหญ่ สามัญประจำปี มีการประชุม สมาชิกเข้าร่วม ประชุมเพียง ขั้นต่ำหรือน้อย กว่าที่กำหนดไว้ ในข้อบังคับกลุ่ม  มีการประชุม ประชุมมากกว่า ขั้นต่ำที่กำหนด ไว้ ในข้อบังคับ แต่ไม่เกิน ร้อยละ 75 และมีการ บันทึกการประชุม ร้อยละ 75 และ มีการบันทึกการ ประชุม

14. ระบบข้อมูล ทะเบียนข้อมูล ของกลุ่ม ได้แก่ ทะเบียนสมาชิก ทะเบียนลูกหนี้ ทะเบียนครุภัณฑ์ เป็นต้น  มีการจัดทำไม่ครบและข้อมูลไม่เป็น ปัจจุบัน มีการจัดทำ ครบถ้วนถูกต้อง แต่ข้อมูลไม่เป็น  มีการจัดทำ ข้อมูลเป็น ................ 15. กระบวนการ ทำงานในรูป เครือข่าย การเชื่อมโยง เงินทุน/ทรัพยากร กับกลุ่ม/องค์กร อื่น ๆ เชื่อมโยง เฉพาะกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อ- การผลิตด้วยกัน  เชื่อมโยงกลุ่ม ออมทรัพย์ฯ และ กองทุนอื่น ๆ ใน ชุมชน  เชื่อมโยง แหล่งทุนทั้งภาย- ใน และภายนอก

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด ลักษณะการดำเนินงาน/ระดับคะแนน 2. ด้านการบริหารเงินทุนและทรัพยากร ที่ องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด ลักษณะการดำเนินงาน/ระดับคะแนน ค่าคะแนน ที่ได้ 1 2 3 16. ความมีวินัยทาง การบริหารเงินทุนและการควบคุมการเงิน การจัดทำเอกสารหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ ทะเบียนคุมเงินสัจจะสะสม ทะเบียนคุมลูกหนี้ ทะเบียนคุมดอกเบี้ยเงินกู้ สรุปการรับจ่ายเงินประจำวัน/เดือน เป็นต้น ทำแต่ไม่ ครบถ้วน และไม่เป็น ปัจจุบัน ทำครบถ้วน แต่ไม่เป็น และเป็น ................

17. การจัดทำบัญชี เงินสด-รับ-จ่าย งบกำไร-ขาดทุน และงบดุล มีการทำบัญชี แต่ไม่ครบถ้วน และไม่เป็น ปัจจุบัน  ทำครบถ้วน เป็นปัจจุบัน แต่ไม่ถูกต้อง ตามหลักบัญชี ทำครบถ้วน และถูกต้อง ................ 18. การฝากเงินกับ สถาบันการเงิน ไม่ได้นำเงิน ฝากธนาคาร แต่นำเงินมา ดำเนินกิจกรรม กลุ่ม  มีการนำเงิน เป็นบางเดือน  มีการนำ เงินฝาก ธนาคารเป็นประจำ ทุกเดือน

19. การรายงาน สถานะทาง การเงิน มีการ รายงาน ให้เฉพาะ กรรมการ ทราบเท่านั้น  มีการรายงาน ให้กรรมการ และสมาชิก ทราบปีละ 1 ครั้ง ให้กรรมการและ สมาชิก ทราบปี ละ 2 ครั้ง ขึ้นไป และติดประกาศ ไว้ ณ ที่ทำการ กลุ่ม ................ 20. ความโปร่งใส การตรวจสอบ บัญชีและ หลักฐาน การเงินต่าง ๆ ของกลุ่ม ตรวจสอบบัญชี โดยคณะ- กรรมการกลุ่ม ปีละ 1-2 ครั้ง  มีการ ปีละ 3-5 ครั้ง โดยคณะกรรมการ กลุ่มปีละ 6 ครั้ง ขึ้นไป และเชิญ เจ้าหน้าที่มาร่วม ตรวจสอบด้วย

21. ความมีประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการเงินทุน การนำเงินทุนไปลงทุน ดำเนิน/ขยายกิจกรรม ให้สมาชิกกู้ อย่างเดียว  ให้สมาชิกกู้ และดำเนิน กิจกรรมเชิง ธุรกิจอื่นๆ อีก 1-2 กิจกรรม ธุรกิจอื่นๆ อีก 3 กิจกรรมขึ้นไป ................ 22. ผลการดำเนินกิจกรรมของ กลุ่มฯ กิจกรรมที่ กลุ่มดำเนินการ มีผลกำไร 1 กิจกรรม  กิจกรรมที่ กลุ่มดำเนิน การมีผลกำไร 2 กิจกรรม

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด ลักษณะการดำเนินงาน/ระดับคะแนน 3. ด้านการพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร ที่ องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด ลักษณะการดำเนินงาน/ระดับคะแนน ค่าคะแนน ที่ได้ 1 2 3 23. การพัฒนาความรู้/ศักยภาพแก่คณะกรรมการ การเข้ารับการอบรม/ สัมมนา/ดูงานเกี่ยวกับ การบริหารจัดการเงินทุน เคยได้รับ ปีละ 1 ครั้ง  เคยได้รับ ปีละ 2 ครั้ง 3 ครั้ง ขึ้นไป .................

24. การแลกเปลี่ยน แนวคิด หลักการ วิธีการดำเนินงาน พัฒนาชุมชนกับ องค์กรภายนอก เคยเข้าร่วม แลกเปลี่ยน ปีละ 1 ครั้ง ปีละ 2 ครั้ง ปีละ 3 ครั้ง ขึ้นไป ................ 25. เรียนรู้ระหว่าง กลุ่ม/กองทุน อื่นๆ /เครือข่าย อื่น ๆ เข้าร่วม ปีละ 1-2 ครั้ง  เข้าร่วม ขึ้นไป แต่ไม่ได้ นำความรู้มา พัฒนาปรับปรุง การดำเนินงาน กลุ่ม แลกเปลี่ยน ปีละ 3 ครั้ง ขึ้นไป และนำความรู้ มาพัฒนาปรับปรุง การดำเนินงานกลุ่ม

26. การพัฒนาความรู้/ ศักยภาพแก่สมาชิก การจัดฝึกอบรม ศึกษาดูงานเพื่อ พัฒนาความรู้ในการ ประกอบอาชีพแก่ สมาชิก จัดฝึกอบรม หรือศึกษา ดูงาน 3 ปี/ ครั้ง  จัดฝึกอบรม ดูงาน 2 ปี/ ดูงานทุกปี ................ 27. จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านการ ประกอบอาชีพและ วิสาหกิจชุมชน จัดเวที แลกเปลี่ยน ระหว่าง ด้วยกัน  จัดเวที ระหว่างสมาชิก กลุ่มกับสมาชิก กลุ่มออมทรัพย์ฯ อื่น กลุ่มฯ กับองค์กร/ แหล่งทุน อื่นๆ

28. ส่งเสริมการรวมกลุ่ม เพื่อประกอบอาชีพ เสริม มีการ ส่งเสริม จำนวน 1 กลุ่ม/ กิจกรรม  มีการ จำนวน 2 กลุ่ม/กิจกรรม  มีการส่งเสริม จำนวน 3 กลุ่ม /กิจกรรม ขึ้นไป .............. 29. การพัฒนาขีดความ สามารถของกลุ่ม เป็นแกนนำในการ ดำเนินงานตาม นโยบายของรัฐบาล ด้านแก้ไขปัญหา ความยากจน จัด การออม อย่างเดียว  จัด ส่งเสริมการ ลดละ เลิก อบายมุข และการ ประหยัด อดออม  ส่งเสริมกิจกรรม ตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง ในระดับครัวเรือน หรือระดับชุมชน เช่น ส่งเสริมการทำ ปุ๋ย ชีวภาพ เพื่อลดต้นทุน การผลิตหรือ เป็น แกนนำ ในการจัดทำ แผนชุมชน เป็นต้น

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด ลักษณะการดำเนินงาน/ระดับคะแนน 4. ด้านผลประโยชน์ต่อสมาชิกและชุมชน ที่ องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด ลักษณะการดำเนินงาน/ระดับคะแนน ค่าคะแนน ที่ได้ 1 2 3 30. การจัดสรรผลประโยชน์ การจัดสรรผลกำไรของกลุ่มฯ  มีการปันผล และเฉลี่ยคืน ให้กับสมาชิก เป็นประจำทุกปี มีการปันผล เฉลี่ยคืนและ เก็บไว้เป็นทุน สำรอง/ทุน ดำเนินงาน กลุ่ม เฉลี่ยคืน เก็บเป็น ทุนสำรอง/ทุน ดำเนินงานกลุ่ม และเป็นทุนใน การจัด สวัสดิการ แก่สมาชิก/ชุมชน .................

31. การจัดสวัสดิการ แก่สมาชิกและ ชุมชน มีการจัด สวัสดิการ แก่สมาชิก หรือชุมชน  มีการจัด สวัสดิการแก่ สมาชิกอย่าง น้อย 2 อย่าง และมีการจัด ชุมชนด้วย สวัสดิการแก่สมาชิก จำนวน 3 อย่าง ขึ้นไป และมีการจัด สวัสดิการแก่ชุมชน ด้วย ................ 32. ความทั่วถึงของ จัด เฉพาะสมาชิก และไม่ทั่วถึง  จัด ได้อย่างทั่วถึง  จัดสวัสดิการ ให้กับสมาชิกและ ครัวเรือนยากจน/ หรือผู้ด้อยโอกาส ในชุมชนอย่าง ทั่วถึง

จำนวนตัวชี้วัดหลักที่ได้ 3 คะแนน (ข้อ 3, 4, 5, 8, 12, 13, 17, รวมคะแนน ......คะแนน จำนวนตัวชี้วัดหลักที่ได้ 3 คะแนน (ข้อ 3, 4, 5, 8, 12, 13, 17, 20, 29 และข้อ 30 ) ............ตัว ผลการจัดระดับการพัฒนา ระดับ......... (ลงชื่อ)............................................................พัฒนากรผู้จัดเก็บ (....................................) วันที่.............เดือน...................................พ.ศ................

ระดับ ๓ ต้องได้คะแนน ๗๗ คะแนนขึ้นไป และตัวชี้วัดหลักได้ ๓ คะแนน จำนวน ๘ ตัว ขึ้นไป (ถ้าไม่เป็นไปตามเงื่อนไข ทั้ง ๒ อย่าง เป็นระดับ ๒)

ระดับ ๒ ต้องได้คะแนนรวมตั้งแต่ ๕๘-๗๖ คะแนน และตัวชี้วัดหลัก ได้ ๓ คะแนน จำนวน ๖ ตัวขึ้นไป

ระดับ ๑ ได้คะแนนต่ำกว่า ๕๘ คะแนน

จงยิ้มสู้พร้อมทำงานเพื่อความสำเร็จของกลุ่มฯ สวัสดี จงยิ้มสู้พร้อมทำงานเพื่อความสำเร็จของกลุ่มฯ