บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วันที่ 13 มกราคม 2555 การวางแผนการผลิตรวม
Advertisements

อะไรคือ “SMEs” “SMEs” ย่อมาจากภาษาอังกฤษ Small and Medium Enterprises หรือแปล เป็นภาษาไทยว่า "วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม" มีบทบาทและความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมไทยมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.
การเสริมสร้างขีดความสามารถ ผู้ประกอบการ ปี 2557
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
Project ภาคเรียน 1/48 จัดทำตลอดภาคเรียน บูรณาการเพียง 3 รายวิชา
วันที่ 24 สิงหาคม 2555 การวางแผนการผลิตรวม
ถาวร ชลัษเฐียร ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ 14 ธันวาคม 2558 เสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาแรงงานและ.
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
มาตรการ SMEs บัญชีเดียว สุริยะ ธีรวัฒนสาร สมาคมผู้สอบบัญชีภาษีอากรแห่งประเทศไทย แนวทาง และ ข้อควรปฏิบัติ ของ SMEs ในการจัดทำบัญชีเดียว.
การบริหารโครงการโดยวิธีการ เชิงปริมาณ ศึกษาเทคนิคและวิธีการเลือก โครงการ บทบาทของผู้จัดการโครงการ การวางแผนโครงการ การจัดลำดับงาน การจัดสรรเวลาและทรัพยากรต่างๆ.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
KS Management Profile.
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
นโยบาย 7 ข้อหลัก ภ.3 7 นโยบายหลัก ภ.3 เพิ่มรายได้ ลดค่าใช้จ่าย
การวางแผนกำลังการผลิต
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ
การจัดการองค์ความรู้
ผู้ตอบแบบสอบถาม ไตรมาส 2 ปี 2555
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
การโอนกลับรายการ Reversing Entries
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
ภาษีเกี่ยวกับการค้าทองคำ
การเบิกจ่ายเงินค่าเบี้ยประชุม
หน่วยที่ 3 องค์การและการบริหารงานภายในองค์กร Organization & Management
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
QMT 3602 การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ
กลุ่มงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำนักเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมโรงงาน
Human Capital Management & Human Capital Investment
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
นโยบาย กรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี ๒๕๕๙
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ของประเทศไทย (Safety Thailand)
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้ ประเภทที่ 2 กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้สำหรับการขายสด พนักงานก็จำทำการบันทึกข้อมูลการรับชำระเงินค่าสินค้า โดยในขั้นตอนนี้แบ่งออกได้
ก้าวสู่ปีที่ 10 จาก การรณรงค์ป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มMSM สู่การ ยอมรับ เข้าใจ ไม่มีการติดเชื้อใหม่ใน MSM/TG ดนัย ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย.
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อนาคตประเทศไทยหลังปี 2560 ผลกระทบจาก AEC ดีกับไทยหรือไม่
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
วิธีการเขียน Business Model Canvas
บทที่ 8 การจัดการลูกหนี้ ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
การจัดการต้นทุนโลจิสติกส์
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
การควบคุม (Controlling)
ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจขนาดย่อม
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
การจัดการตลาดสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
ผังทางเดินเอกสาร – ระบบส่งคืนสินค้า
การประชุมเพื่อกำหนดแนวทางกิจกรรมรองรับนโยบายการขายและการให้บริการ หน่วยธุรกิจโทรศัพท์ประจำที่และบรอดแบนด์ ปี 2560.
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
ผลงานจ้างเหมาซ่อมบำรุงรักษาทางรถไฟและอื่นๆ ประจำปี 2560
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ และ หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่ สัปดาห์ที่ 3 1.
การประเมินราคา (Cost estimation).
โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Cr. Pattapong Promchai

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 1. ความหมายของธุรกิจขนาดย่อม….. SMEs (Small and Medium Enterprises) วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ครอบคลุมกิจการ 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ กิจการการผลิต กิจการบริการ กิจการการค้า ค้าปลีก ค้าส่ง

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 1.1 กิจการการผลิต

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 1.2 กิจการบริการ

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 1.3.1 กิจการการค้า ค้าส่ง

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 1.3.2 กิจการการค้า ค้าปลีก

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2.1 การจำแนก SMEs จากมูลค่าสินทรัพย์ ประเภท ขนาดกลาง ขนาดย่อม 1. กิจการการผลิต ไม่เกิน 200 ล้านบาท ไม่เกิน 50 ล้านบาท 2. กิจการการบริการ 3.1 กิจการการค้าส่ง 3.2 กิจการการค้าปลีก ไม่เกิน 100 ล้านบาท ไม่เกิน 30 ล้านบาท

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2.2 การจำแนก SMEs จากจำนวนการจ้างงาน ประเภท ขนาดกลาง ขนาดย่อม 1. กิจการการผลิต ไม่เกิน 200 คน ไม่เกิน 50 คน 2. กิจการการบริการ 3.1 กิจการการค้าส่ง 3.2 กิจการการค้าปลีก ไม่เกิน 30 คน ไม่เกิน 25 คน ไม่เกิน 15 คน

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 3.ความสำคัญของ SMEs ต่อระบบเศรษฐกิจ SMEs คือ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เป็นวิสาหกิจที่มีความคล่องตัวในการปรับสภาพให้เข้ากับสถานการณ์ทั่วไปของประเทศ อีกทั้งยังเป็นวิสาหกิจที่ใช้เงินทุนในจำนวนที่ต่ำกว่าวิสาหกิจขนาดใหญ่ และยังช่วยรองรับแรงงานจากภาคเกษตรกรรมเมื่อหมดฤดูกาลเพาะปลูก รวมถึงเป็นแหล่งที่สามารถรองรับแรงงานที่เข้ามาใหม่เป็นการป้องกนการอพยพของแรงงานเข้ามาหางานทำในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล ซึ่งช่วยกระจายการกระจุกตัวของโรงงานกิจการวิสาหกิจในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลไปสู่ภูมิภาค ก่อให้เกิดการพัฒนาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทั้งในส่วนภูมิภาคและของประเทศอย่างยั่งยืนต่อไป

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 3. สรุป SMEs มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ คือ 3.1. ช่วยการสร้างงาน 3.2. สร้างมูลค่าเพิ่ม 3.3. สร้างเงินตราต่างประเทศ 3.4. ช่วยประหยัดเงินตราต่างประเทศโดยการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้าจากต่างประเทศ 3.5. เป็นจุดเริ่มต้นในการลงทุน และสร้างเสริมประสบการณ์ 3.6. ช่วยเชื่อมโยงกับกิจกรรมขนาดใหญ่ และภาคการผลิตอื่น ๆ เช่น ภาคเกษตรกรรม 3.7. เป็นแหล่งพัฒนาทักษะฝีมือ

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 4. ปัญหาเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 4.1. การขาดซึ่งจิตวิญญาณของการเป็นผู้ประกอบการ (Lack of Entreprenuership) การเป็นผู้ประกอบการจะต้องมีคุณสมบัติหลายประเภท เช่น ความเป็นผู้นำ การกล้าได้กล้าเสีย ต้องเป็นนายของตัวเอง การรักความท้าทาย รักความเป็นอิสระ มีระเบียบวินัยในตัวเองสูง 4.2. การจัดการและการบริหารไม่มีประสิทธิภาพ ความสามารถในด้านการจัดการองค์กร การเงิน การบัญชี การตลาด บุคลากร ซึ่งถือเป็นหัวใจหลักของ SMEs 4.3. การขาดบุคลากรหรือผู้เชี่ยวชาญธุรกิจ SMEs มักจะเริ่มต้นจากความถนัดหรือความชำนาญเฉพาะด้านของผู้ประกอบการ นั้นตั้งแต่เริ่มก่อตั้งและดำเนินต่อไป จนกว่าจะเริ่มเข้าที่เข้าทาง

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 4. ปัญหาเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 4.4. การขาดแรงงานทีมีฝีมือแรงงานที่มีฝีมือ (Skilled Worker) คือจุดเริ่มต้นของคุณภาพสินค้า ซึ่งพนักงานทีมีฝีมือจะต้องได้รับการฝึกฝน ดังนั้นผู้ประกอบการรายใหม่จึงต้องสร้างและสงวนแรงงานเหล่านี้ให้ได้ 4.5. ต้นทุนการผลิตสูงการจัดการที่ไม่ดี การผลิตที่ขาดประสิทธิภาพ ไม่มีการใช้เครื่องจักรหรือเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจะทำ ให้ต้นทุนของสินค้าสูง ซึ่งนำไปสู่การเสียเปรียบในเชิงการค้ากับคู่แข่ง 4.6. การแข่งขันสูงสภาพการเศรษฐกิจและแข่งขันในปัจจุบัน เป็นสาเหตุให้เกิดการแข่งขันกันสูงมากเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจของตนเอง ดังนั้นผู้ประกอบการหน้าใหม่ที่เข้ามาในตลาดที่มีการแข่งขันกันสูง จึงมีความยากลำบากในการดำเนิน ธุรกิจ

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 4. ปัญหาเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 4.7. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่ำการบริหารจัดการการผลิตไม่เหมาะสม ทำให้เกิดสูญเสียในการผลิต ผลผลิตต่ำ ไม่ได้ มาตรฐาน ซึ่งนำไปสู่สินค้าไม่มีคุณภาพและไม่สามารถแข่งขันได้ 4.8. ปัญหาของระบบราชการก็เป็นที่ทราบกันดีอยู่ทั่วไปว่า ปัญหาด้านเอกภาพและการประสานงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ในการส่งเสริมพัฒนา SMEs ก็ต้องมีความสำคัญด้วย ดังนั้นเมื่อเราได้ทราบปัญหาหลักของธุรกิจ SMEs แล้ว ก็จะนำไปสู่การแก้ไขปัญหา และนำไปสู่การพัฒนาต่อไป

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 5. กลยุทธ์ของเจ้าของกิจการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 5.1 ต้องเป็นนักแสวงหาโอกาส ต้องมองเห็น " โอกาส" แม้ตกอยู่ในภาวะวิกฤติ โดยมองเห็นโอกาสแล้วหยิบฉวยขึ้นได้อย่างเหมาะสม ไม่ใช่มองเห็นโอกาสแล้วไม่มีความสามารถหรือไม่กล้า นั่นถือว่า " เสียของ " 5.2 ต้องเป็นนักเสี่ยง ต้องกล้าเสี่ยงที่จะลุยเข้าไปเลย เพราะการที่จะเป็นเถ้าแก่นั่นคือ คุณจะมีโอกาสทั้งขาดทุน และกำไร นั้นคือสิ่งที่คุณ จะได้รับ ความเป็นนักเสี่ยงนั้นไม่ใช่ทำแบบบ้าบิ่นหรือไม่มีหลักการและเหตุผลเอาซะเลย 5.3 ต้องมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นคุณสมบัติที่สำคัญสำหรับเถ้าแก่ใหม่ เพราะการที่จะเข้าไปแข่งขันกับเถ้าแก่เดิมหรือสินค้าที่มีอยู่ในตลาดนั้นจำเป็น จะต้องมีความคิดใหม่ๆ และสร้างสรรค์ แต่ไม่ใช่เพ้อฝันในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 5. กลยุทธ์ของเจ้าของกิจการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 5.4 ต้องไม่ท้อถอยง่าย เถ้าแก่ใหม่จะต้องมี "ความอึด" โดยเฉพาะเริ่มแรกของการทำธุรกิจใหม่ๆ ความมุมานะไม่ย่อท้อความลำบาก และมุ่งมั่น ที่จะให้ธุรกิจที่ตนสร้างนั้นประสบความสำเร็จ และหวังที่จะเก็บดอกออกผลในอนาคต 5.5 ต้องใฝ่รู้เสมอ เถ้าแก่ใหม่จะต้องมีความตื่นตัว ใฝ่หาความรู้เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และปรับเปลี่ยนเข้ากับสถานการณ์ต่างๆได้ดี และยังเป็นการปรับปรุงงานต่างๆด้วย   5.6 ต้องมีวิสัยทัศน์กว้างไกล โดยจะต้องมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน ว่าจะไปไหนและมีแนวทางในการดำเนินการอย่างไร คล้ายกับยิงธนูจะต้องเหนี่ยว ยิงลูกธนูนั้นให้ถูกทิศทางและเป้าหมายนั่นเอง

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 5. กลยุทธ์ของเจ้าของกิจการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 5.7 ต้องมีเครือข่ายที่ดี เถ้าแก่ใหม่มีเครือข่ายที่ดีจะหมายถึง มีคนชี้แนะ สนับสนุนมาก มีแหล่งข้อมูลมาก และรวมไปถึงเพื่อน หรือญาติพี่น้องที่จะช่วยเหลือ

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 6. " แรงกดดัน 4 C " เป็นแรงกดดันหลักที่ทำให้ ธุรกิจ SMEs เกิดการปรับตัวครั้งใหญ่ 6.1. Customer (ลูกค้า) โดยลูกค้ามีความต้องการที่หลากหลาย มีการเรียกร้องที่ไม่รู้จบ เนื่องจากเป็นตลาดของ ผู้ซื้อ มีสินค้าในตลาดมากมาย หรือเมื่อลูกค้าได้ยินสินค้าใหม่หรือมีสิ่งใหม่ที่ไม่ซ้ำซาก ซึ่งอาจรวมถึงราคาที่ดึงดูดใจด้วย ดังนั้น SMEs ต้องตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าให้ทันการณ์ โดยมีการวิเคราะห์ลูกค้า อยู่เสมอ 6.2. Competition (การแข่งขัน) สภาพการแข่งขันในตลาดเสรีนอกจากจะเพิ่มทั้งจำนวนและขนาดแล้ว คู่แข่งจะ มีทั้งสินค้าทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งสินค้าเหล่านั้นจะรวมไปถึง สินค้านำเข้า สินค้าหนีภาษี และ สินค้าที่ทุ่มตลาดด้วยการลดราคาเป็นต้น SMEs จึงต้องพยายามคิดเสมอว่า คู่แข่งของเราผลิตสินค้าที่ดีกว่า ถูกกว่า และให้บริการเร็วกว่า เพื่อที่เราจะได้มีการตื่นตัวและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง มากกว่านั้นเราจะต้องพยายามรักษาฐานลูกค้าเดิม และสร้างสรรค์ฐานลูกค้าใหม่ด้วย

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 6. " แรงกดดัน 4 C " เป็นแรงกดดันหลักที่ทำให้ ธุรกิจ SMEs เกิดการปรับตัวครั้งใหญ่ 6.3. Cost (ต้นทุน) การลดต้นทุนการผลิต (Cost Reduction) เป็นเรื่องที่ SMEs ต้องให้ความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะหากต้นทุนการผลิตสูง ราคาขายของสินค้าหรือบริการก็จะสูงไปด้วยทำให้เสียความสามารถในการแข่งขันและยังทำให้ความสามารถในการทำกำไรลดลงไปด้วย อย่างไรก็ตามก็ต้องคำนึงถึงคุณภาพของสินค้าเช่นเดียวกัน 6.4. Crisis มีคำกล่าวว่า " ยามศึกเรารบ ยามสงบเราฝึก" ซึ่งก็คือการที่เรามีการเตรียมความพร้อมไว้สำหรับเหตุการณ์ร้ายแรงที่ไม่ได้คาดการณ์ไว้ก่อน ซึ่งจะเป็นการป้องกันล่วงหน้า เราจะมีทางหนีทีไร่อย่างไร มากกว่านั้น ยังเป็นการปรับตัวและยืดหยุ่นตามวิกฤติเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดีและเร็วทันท่วงที ดังนั้น การที่มีจิตนึกในการจัดการวิกฤติการณ์(Crisis Management) จะสอนเราให้เป็น"นักป้องกันและแก้ปัญหา" ไม่ใช่ "นักผจญเพลิง"

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 7. ปัญหาและข้อจำกัดของ SMEs ในภาพรวม 7.1. ปัญหาด้านการตลาด SMEs 7.2. ขาดแคลนเงินทุน SMEs 7.3. ปัญหาด้านแรงงาน 7.4. ปัญหาข้อจำกัดด้านเทคโนโลยีการผลิต 7.5. ข้อจำกัดด้านการจัดการ SMEs 7.6. ปัญหาการเข้าถึงบริการการส่งเสริมของรัฐ SMEs 7.7. ปัญหาข้อจำกัดด้านบริการส่งเสริมพัฒนาขององค์การภาครัฐและเอกชน 7.8. ปัญหาข้อจำกัดในการรับรู้ข่าวสารข้อมูล