งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ถาวร ชลัษเฐียร ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ 14 ธันวาคม 2558 เสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาแรงงานและ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ถาวร ชลัษเฐียร ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ 14 ธันวาคม 2558 เสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาแรงงานและ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ถาวร ชลัษเฐียร ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ 14 ธันวาคม 2558 เสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาแรงงานและ ประสานงานการฝึกอาชีพแห่งชาติ กพร. ปช.

2 . มูลค่าการผลิตคิดเป็น ≥ 12% ของ GDP ไทย ( ผลิตที่ 3.0 ล้านคัน ). เพิ่มผลิตภาพการผลิต ≥ 8% ต่อปี 3.0 คัน / คน / ปี  4.5 คัน / คน / ปี. มูลค่าการส่งออก ( ยานยนต์และชิ้นส่วน ) ≥ 2 ล้านล้าน บาทต่อปี ปรับปรุงโครงสร้างกำลังแรงงาน  สู่เทคโนโลยีการผลิต ระดับสูง Local Content Valued 30% ≥ 40% ปี 2563 ≥ 50% ปี 2568 จัดทำมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพของอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่วนภายในปี 2558 จัดตั้งสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของอุตสาหกรรมยาน ยนต์และชิ้นส่วนภายในปี 2558 2 เป้าประสงค์ 2020 ( พ. ศ 2563)

3 ผลักดันอุตสาหกรรมให้เป็นฐานการผลิตและส่งออก ยานยนต์และชิ้นส่วน พร้อมทั้งมุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มจากภายในประเทศ 1. ยกระดับ มาตรฐานและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ และ เทคโนโลยีการ ผลิต 2. พัฒนา เครือข่ายวิสาหกิจ ของชิ้นส่วนยาน ยนต์ 3. พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ 4. สร้าง ความเข้มแข็ง แก่ ผู้ประกอบการ เป้าหมาย เป้าหมายและแผนปฏิบัติการพัฒนาอุตสาหกรรม ยานยนต์ไทย ยุทธ ศาสตร์ ยุทธ ศาสตร์ o Human Development การจัดตั้งศูนย์ AHRDA (Automotive Human Resource Development Academy) ให้เป็นรูปธรรม การจัดการปัญหาขาดแรงงานด้านคุณภาพ ด้านช่างเทคนิค (อาชีวะ) การสร้างความร่วมมือกับ มจธ. เพื่อจัดทำหลักสูตรวิศวกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ (Monozukuri) o Technology Improvement การจัดตั้งศูนย์ทดสอบสมรรถนะยานยนต์และชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ (Automotive Research and Testing Center :ARTC) ผลักดันให้ภาครัฐสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์ทดสอบฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการไทยและ SMEs การสนับสนุนให้ผู้ประกอบการไทยทำการพัฒนา R & D จนถึงการออกแบบด้วยตนเอง o Strengthen Management การเพิ่ม Productivity ให้กับผู้ประกอบการ ภาครัฐสนับสนุนการพัฒนาและเสริมสร้างความเข็มแข็งให้กับผู้ประกอบการ ในการทำ Cost Reduction, TPS และ TPM กระจาย ทั่วไปถึงระดับ SMEs จัดตั้งสถาบัน/ศูนย์เครื่องกลอัตโนมัติและหุ่นยนต์ในการผลิต (Manufacturing Automatic and Robotic Institute : MARI) o Human Development การจัดตั้งศูนย์ AHRDA (Automotive Human Resource Development Academy) ให้เป็นรูปธรรม การจัดการปัญหาขาดแรงงานด้านคุณภาพ ด้านช่างเทคนิค (อาชีวะ) การสร้างความร่วมมือกับ มจธ. เพื่อจัดทำหลักสูตรวิศวกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ (Monozukuri) o Technology Improvement การจัดตั้งศูนย์ทดสอบสมรรถนะยานยนต์และชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ (Automotive Research and Testing Center :ARTC) ผลักดันให้ภาครัฐสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์ทดสอบฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการไทยและ SMEs การสนับสนุนให้ผู้ประกอบการไทยทำการพัฒนา R & D จนถึงการออกแบบด้วยตนเอง o Strengthen Management การเพิ่ม Productivity ให้กับผู้ประกอบการ ภาครัฐสนับสนุนการพัฒนาและเสริมสร้างความเข็มแข็งให้กับผู้ประกอบการ ในการทำ Cost Reduction, TPS และ TPM กระจาย ทั่วไปถึงระดับ SMEs จัดตั้งสถาบัน/ศูนย์เครื่องกลอัตโนมัติและหุ่นยนต์ในการผลิต (Manufacturing Automatic and Robotic Institute : MARI) 3

4 4 Competitivene ss Innova tion Commercializ ation Implementat ion Creatio n Productiv ity High Technology Automation/R obotic Human Capacities Building Quality Management Strategic Roadmap for automotive cluster Leadershi p Change Management Cooperate Culture Sustaina bility ITIT ITIT R&D ARTC Industrial 4.0

5 1.หลักสูตรและแผนผังสถาบันพัฒนาบุคลากร ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ 2. แผนแม่บทในการดำเนินงานของสถาบัน AHRDA ปี 2558-2562 Automotive Human Resource Development Academy 5

6 6 วัตถุประสงค์ 1. ฝึกอบรมพนักงานและช่างเทคนิค ใน อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน 2. ให้การสนับสนุนกับอาชีวศึกษาในการฝึกอบรมครู เพิ่มทักษะทางช่างระดับสูง 3. เป็นส่วนในการสนับสนุนในเกิด / พัฒนาคุณภาพ ศูนย์ฝึกอบรมของแต่ละบริษัท 4. เป็นศูนย์ฝึกช่างส่งแข่งขันระดับ World Skill 5. เป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานของ อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน 1. ฝึกอบรมพนักงานและช่างเทคนิค ใน อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน 2. ให้การสนับสนุนกับอาชีวศึกษาในการฝึกอบรมครู เพิ่มทักษะทางช่างระดับสูง 3. เป็นส่วนในการสนับสนุนในเกิด / พัฒนาคุณภาพ ศูนย์ฝึกอบรมของแต่ละบริษัท 4. เป็นศูนย์ฝึกช่างส่งแข่งขันระดับ World Skill 5. เป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานของ อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน

7 7/25 พนักงานใหม่ พนง.มีประสบการณ์ หัวหน้างาน Semi-Skilled Skilled Supervisor Manager Fundamental & Basic FunctionalSuper Blue Collar ผู้จัดการ/ผู้บริหาร AHRDP หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรใน อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน Managemant 7

8 8/25 3.Super Blue Collar 2. DSD Functional Course 1. Fundamental (Safety & Quality) 12 หลักสูตร Quality : 1.ความรู้พื้นฐานทางด้านตรรกะ 2. Quality Mind 3. 5S 4. การใช้เครื่องมือวัดพื้นฐาน 5. การอ่านแบบพื้นฐาน 6. Basic QC. 7 Tools 7. 5W2H 8. ทักษะการตรวจสอบพื้นฐาน Safety : 1. Safety for New comer 2. Safety for Operator 3. Safety for Leader/Supervisor 4. Safety for Trainer …………………………………………………… Functional : 1. กลึงรูปพรรณเพื่อผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2. กัดรูปพรรณเพื่อผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3. กลึงCNC เพื่อผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4. กัดCNC เพื่อผลิตแม่พิมพ์ 5. การใช้เครื่องWire Cut เพื่อผลิตแม่พิมพ์ 6. การใช้เครื่องEDM เพื่อผลิตแม่พิมพ์ 7. เครื่องมือวัดละเอียดด้านมิติ 8. การใช้เครื่องCMMเพื่อการตรวจสอบชิ้นส่วนยานยนต์ 9. การออกแบบ Jig & Figureด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 10. การอ่านแบบตามมาตรฐานสากล 11. การกำหนดค่าพิกัดความเผื่ออิสระ GD&T 12. การตรวจสอบงานเชื่อมชิ้นส่วนยานยนต์ 13.เชื่อมแม็กสำหรับการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 14. การเชื่อมจุดด้วยความต้านทานในการผลิตชิ้นส่วน 15. พนักงานควบคุมการเชื่อมชิ้นส่วนยานยนต์ด้วย หุ่นยนต์ 16. Modeling Drafting Assembly 17. Mold Design Process 18.Reverse Engineering 19. Free Form Modeling 20. Mill Manufacturing Process 20 หลักสูตร 1. งานขึ้นรูปโลหะ 2. งานฉีดพลาสติก 3. งานหล่อเหล็ก 4. งานกลึง 5. งานกัด 6. งานปรับแต่งแม่พิมพ์ 7. งานปรับ / ประกอบเครื่องกล 8. งานกลึงด้วยโปรแกรม 9. งานกัดด้วยโปรแกรม 10. งานเขียนแบบเครื่องกลด้วยมือ 11. งานเขียนแบบเครื่องกลด้วย CAD 12. งานประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 13. งานประกอบอุปกรณ์ไฟฟ้า 14. งานออกแบบและประกอบนิวแมติก 15. งานปรับแต่งระบบไฮดรอลิก 16. งานซ่อมบำรุงเครื่องจักรกล 17. งานซ่อมบำรุงระบบไฟฟ้า Semi-SkillSkilledSupervisors for Leader/Foreman for New Comerfor Experience Operator 1. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 2. Workmanship Training Course 3. การเรียนรู้การทำงานแบบญี่ปุ่น 4. Daily Management 5. Safety for Management 6. 5S for Management 7. Problem Solving 8. TPS 9. TQM 10. TPM 11. ISO/TS16949 12. Competency 13. Leadership 14. TWI-JI 15. TWI-JR 16. การดูงานจากสถานประกอบการ 17. เทคนิคการนำเสนอผลงาน 17 หลักสูตร หลักสูตรสำหรับสถาบันพัฒนาบุคลากร (Phase #1) หลักสูตรเพิ่มเติมด้าน Engineering (AHRDP) 8

9 กิจกรรม/โครงการ ผู้รับผิดชอบ JanFebMarAprMayJunJulAugSepOct - จัดตั้งองค์กร,สำนักงาน, ระบบทะเบียน ครุภัณฑ์ AHRDA - จัดทำแผนงาน งบประมาณ LongTerm pLan - AHRDA KICK OFF - โครงการฝึกอบรมนักบริหารระดับต้นใน อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ไทย (SBC) สอศ, AHRDA,สอท,TAPMA, สปก. 2 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 60 คน 1 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 30 คน - พัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในอุตสาหกรรมใน อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ ยานยนต์ (งบประมาณจาก กลุ่มจังหวัดภาค กลางตอนกลาง) AHRDA 200 คน 212 คน - การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ของ AHRDA AHRDA, สมฐ. TAI 1 ครั้ง - กำหนด KPI บุคลากร AHRDA - การทบทวนแผนกลยุทธ์ของ (AHRDA)AHRDA 1ครั้ง - โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการความ ต้องการแรงงานและการพัฒนาบุคลากรใน อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยาน ยนต์ AHRDA 1 ครั้ง Grand opening 2 nd September 2015 2016 Fiscal Year Budget ครั้งที่ 2/2015 ครั้งที่ 1/2015 AHRDA Year Plan 2558 0 9

10 10/25 กิจกรรม/โครงการ 1. จัดตั้ง AHRDA และสร้างแผนกลยุทธ์ระยะยาว ของ AHRDA 2. การฝึกพัฒนาฝีมือแรงงานในอุตสาหกรรมยาน ยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ 2.1โครงการฝึกอบรมครูอาชีวะและผู้บริหารใน อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ไทย (SBC) 2.2 พัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในอุตสาหกรรมใน อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ (เน้นเชิงคุณภาพของทักษะฝีมือแรงงาน) Board & AHRDA 4. การปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานและหลักสูตร ฝึกอบรมของ AHRDA 7. การนำมาตรฐานฝีมือแรงงานมาทดสอบ 9. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการความต้องการ แรงงานและการพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรม ยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ 8. การทบทวนผนกลยุทธ์ของ AHRDA 2558 แผน กลยุทธ์ กพร.ปช. AHRDA, สอศ./ สอท., TAPMA, กพร. AHRDA, กพร., TAI ภาค 1 & AHRDA AHRDA Board & วางแผน AHRDA ผู้รับผิดชอบ 3. การพัฒนาสมรรถนะของ Master Trainer (Re-training & Re-testing) AHRDA 5. การปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงาน และระบบการรับรองความสามารถของฝีมือ แรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน อะไหล่ยานยนต์ 6. เป็นศูนย์ทดสอบฝีมือแรงงานตามมาตรฐาน แรงงานแห่งชาติ(เริ่มที่ชิ้นส่วนยานยนต์) AHRDA Long Term Plan 2558 - 2562 25592560 25612562 4 1 1 2 1 2 2 3 4 AHRDA 1 AHRDA, กพร., TAI 1 ครั้ง -- 1 สาขา อาชีพ 4 สาขา อาชีพ 7 สาขา อาชีพ 10 สาขา อาชีพ 11 สาขา อาชีพ 1 ครั้ง -- -- 200 คน250 คน300 คน350 คน - 1,012 คน3,000 คน3,500 คน4,000 คน 3รุ่นๆละ30 คนรวม90คน จัดตั้ง Doujo ฝึก/ ทดสอบ และพัฒนา หลักสูตร รองรับการ ทดสอบ มาตรฐาน แรงงาน ประเมินผล/ วิจัย/สัมนา ติดตาม ผล/จัดทำ มาตรฐาน 10

11 11/25 AHRDA สร้าง AHRDA ให้เข้มแข็ง AHRDA สร้าง AHRDA ให้เข้มแข็ง เติบโตเป็นศูนย์ ให้เรียนรู้ทักษะ ชั้นสูง และการ บริหารจัดการ ขยายศูนย์สู่เครือข่าย ระดับภูมิภาค ปี 2557-2558 ปี 2561 - 2562 ปี 2559 - 2560 1. ฝึกครูให้มีความสามารถสูงสู่ระดับ Mieter AHRDA 2. แผนแม่บทในการดำเนินงานของสถาบัน AHRDA ปี 2558-2562 (ต่อ) 1. สร้างและพัฒนา Train The Trainer 2. สร้างและพัฒนาครูอาชีวะเพื่อยก ระดับการสร้างช่างเทคนิคและวิศวกร 3. สร้างและพัฒนาผู้เชี่ยวชาญในด้าน อุตสาหกรรมชิ้นส่วน Tier 1,2,3 4. ออกแบบระบบการรับรองทักษะด้าน เทคนิคและการบริหารจัดการ 5. การออกแบบศูนย์ฝึกอบรมภายใน องค์กรของผู้ประกอบการเอง 6. การเตรียมการเครื่องจักร อุปกรณ์ การฝึกอบรมและการรับรองทักษะ ด้านเทคนิคและบริหารจัดการ 1. ศุนย์ฝึกช่างเทคนิคแข่ง World Skill 2. เริ่มการรับรองทักษะด้านเทคนิคและ บริหารจัดการ 3. คัดเลือกผู้ประกอบเพื่อสร้าง Model Line ศูนย์ฝึกอบรมภายในองค์กร ผู้ประกอบการเอง 4. การพัฒนาครูอาชีวะร่วมกับ ผู้ประกอบการ โดยสร้างโรงเรียนฝึกครู ในโรงงาน 5. การเพิ่มเติม เครื่องจักร อุปกรณ์ การฝึกอบรมและการรับรองทักษะ ด้านเทคนิคและบริหารจัดการ 6. การเตรียมการขยายศูนย์รับรองร่วมกับ เครือข่ายในประเทศและภูมิภาค 2. สนับสนุนให้มีศูนย์ฝึกอบรมระดับคุณภาพ ใน กลุ่ม 2 nd Tier & 3 rd Tier 3. เพิ่มหลักสูตรเฉพาะงาน/ อาชีพให้มากขึ้น 4. ขยายขอบเขตการสร้างและพัฒนาบุคลากร ของกลุ่มอุตสาหกรรมสนับสนุน เช่น เหล็ก พลาสติก แม่พิมพ์และเครื่องจักร 5. เพิ่มผู้ประกอบการ เพื่อสร้างศูนย์ฝึกอบรม ภายในองค์กรผู้ประกอบการเอง 6. การขยายการรับรองทักษะด้านเทคนิค และการบริหารจัดการในกลุ่มสนับสนุน และขยายไปในภูมิภาค 7. การเพิ่มเติม เครื่องจักร อุปกรณ์ การฝึกอบรม และการรับรอง 8. โครงการความร่วมกับเครือข่ายในประเทศ และภูมิภาค 11 7. เพิ่มจำนวน Trainer ภาคเอกชนและ รัฐ ให้ได้ > 400 คน

12 12/25 AHRDA งบลงทุน จำนวน 47,972,000 บาท พื้นฐานวัดขนาดทั่วไป เครื่องมือวัดขนาดอย่าง ละเอียด เครื่องกลึง CNC / เจาะ อัตโนมัติ ชุดปฏิบัติการโปรแกรม ออกแบบชิ้นงานด้วย คอมพิวเตอร์ เครื่อง EDM, เครื่อง Wire cut งบประมาณฝึกอบรม 7,482,000 บาท เป้าหมายการฝึก 2,580 คน ระดับอาชีวศึกษา ยานยนต์และชิ้นส่วน ฝึกอบรมครูอาชีวศึกษา จำนวน 3 รุ่น 81 คน 16 วิทยาลัย และ บุคลากรกรมพัฒนา ฝีมือแรงงาน จัดทำหลักสูตรทาง ชิ้นส่วนยานยนต์ ( เทคนิคการผลิต ) จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรม นักเรียนอาชีวะ 4 ศูนย์ ภาคกลาง, ภาคตะวันตก, ภาคตะวันออกกลาง และ ภาคอีสานตอนใต้ กิจกรรมเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน 12

13 เครื่องก ล เครื่องมื อและ วัสดุ อุตสา หการ วศ. การ ผลิต ชิ้นส่วน ยานยนต์ -Automotive Structure -Automotive system -Mechanics - Machine Design - Fluid Mechanics -Automotive Structure -Automotive system -Mechanics - Machine Design - Fluid Mechanics - Mould &Die Design - Forming process - Material Engineering - Metallurgy - Cutting and Machine Tool -Metrology -Finite Element Method -Industrial Robot -Computer Aided Design and Manufacturing (CAD/CAM) CNC - Mould &Die Design - Forming process - Material Engineering - Metallurgy - Cutting and Machine Tool -Metrology -Finite Element Method -Industrial Robot -Computer Aided Design and Manufacturing (CAD/CAM) CNC - VA/VE - Production Planning - TPM - TQM - TPS -Quality Control -Economics -Industrial Safety -Industrial Plant Design -Industrial Automation -Problem solving - VA/VE - Production Planning - TPM - TQM - TPS -Quality Control -Economics -Industrial Safety -Industrial Plant Design -Industrial Automation -Problem solving รูปแบบการเรียนแบบ MONOZUKURI ( คิดเป็น, ทำได้, ครบวงจร ) + Passion ( จริงจัง, คลั่งไคล้, ไหลหลง ) ระดับปริญญาตรี - ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (KMUTT) วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ 13

14 การฝึกงาน นักศึกษา ทุกปี การศึกษา โครงงาน นักศึกษาร่วมกับ ภาคอุตสาหกรรม (WIL) 2 เดือน 6 เดือน สัญญาทำงานหลังจากสำเร็จการศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ที่มา วิศวกรรมศาสตร์ มจธ. 14 การเรียนรู้ร่วม ภาคอุตสาหกรรม

15 15 - ความร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น (TNI) วิศวกรรมระดับสูง หลักสูตร R&D 2 (Research + Development + Design) เน้น Process Design Innovation - ความร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น (TNI) วิศวกรรมระดับสูง หลักสูตร R&D 2 (Research + Development + Design) เน้น Process Design Innovation ระดับปริญญาตรี R D D

16 ขอบคุณค่ะ - ครับ 16


ดาวน์โหลด ppt ถาวร ชลัษเฐียร ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ 14 ธันวาคม 2558 เสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาแรงงานและ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google