งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ
ดร.ไพศาล สุขปัญญา ผู้ตรวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชน

2 ประเด็นมอบภารกิจ สัมมาชีพ การขับเคลื่อนงาน OTOP การขับเคลื่อนประชารัฐฯ
ตลาดประชารัฐ โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน และลดความเหลื่อมล้ำ ของขวัญมหาดไทย ส่งต่อความสุข รับปีใหม่ ๒๕๖๑ งบประมาณ ปี 61 กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

3 Five Trends Shaping the Future of Life CD Worker
Jacob Morgan(2014)

4 สัมมาชีพ ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้
เป้าหมาย ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ การสร้างสัมมาชีพชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สร้างและพัฒนาอาชีพให้กับประชาชน ตามแนวทางสัมมาชีพชุมชน โดยยีดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ประชาชนมีรายได้ และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ทำให้ชุมชนเข้มแข็งพึงตนเองได้ แนวคิด มีอาชีพ ชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ มีรายได้ มีส่วนร่วม สร้างและพัฒนาผู้นำสัมมาชีพชุมชน รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของครัวเรือนตามสัมมาชีพชุมชนโดยการขับเคลื่อนภายใต้กลไกประชารัฐ วัตถุประสงค์ แนวทางการดำเนินงาน ให้ผู้นำสัมมาชีพชุมชนซึ่งเป็นปราชญ์ชาวบ้านเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ชาวบ้านสอนชาวบ้าน และให้การช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งสนับสนุนให้เกิดการรวมกลุ่มอาชีพ

5 1 2 3 แนวคิดสำคัญ ให้ชาวบ้านสอนชาวบ้าน
ยึดพื้นที่ครัวเรือนรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.เป็นลำดับแรก ให้ชาวบ้านสอนชาวบ้าน ดำเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1 2 3

6 โครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประเด็น โครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำรวจ ตรวจสอบ ความต้องการอาชีพของ คร. เป้าหมายกับความรู้ด้านอาชีพของปราชญ์ชุมชนให้ สอดคล้องกัน หากไม่สอดคล้องกันให้ประสานปราชญ์จากพื้นที่ข้างเคียงในอำเภอเดียวกัน เตรียมปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ หมู่บ้านละ 5 คน และ คร.เป้าหมาย หมู่บ้านละ 26 คน/คร. ไว้ให้พร้อม ปราชญ์ชุมชนและคร.เป้าหมาย ต้องไม่เป็น คร.เดียวกัน คร. เป้าหมาย ขยายผลสัมมาชีพชุมชน ปี 61(หมู่บ้านเดิม) ต้องไม่ซ้ำกับ คร. เป้าหมาย ที่ได้ สร้างสัมมาชีพไปแล้วในปี 60 งบประมาณวัสดุฝึกปฏิบัติอาชีพ คร. ละ 800 บาท ห้ามนำไปเป็นค่าใช้จ่ายอื่น 1 2 3 4 5

7 โมเดล สัมมาชีพชุมชน แก้จนอย่างยั่งยืน
เป้าหมาย : ครัวเรือนยากจน ที่มีรายได้ ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี แนวคิด : - ศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” - รัฐบาล “เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” - โมเดลของจีน แก้ตรงจุดหลุดพ้นความจน” ครัวเรือนยากจน มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีรายได้เพิ่ม ในปี 2564 1. เตรียมทีมอาสาประชารัฐพัฒนาพื้นที่ 2. สำรวจข้อมูลครัวเรือนยากจนแบบตัวต่อตัว เพื่อตรวจสอบข้อมูลของสมาชิกของครัวเรือนยากจน ในประเด็นต่อไปนี้ • รายได้/ค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพ • สุขภาพ • ปัญหาที่กำลังประสบ • ความต้องการของครัวเรือน 1. วิเคราะห์ข้อมูลปัญหาความต้องการของครัวเรือนยากจน โดยแยกประเภท (classify) และจัดกลุ่ม (Grouping) • ระดับปัจเจก : ทุน ทักษะตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฯลฯ • ระดับชุมชน : การขนส่งผลผลิต ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม การตลาด ฯลฯ 2. ส่งข้อมูลผลการวิเคราะห์ให้หน่วยงาน/ผู้เกี่ยวข้อง เช่น ด้านอาชีพให้ พช. ด้านโครงสร้างพื้นฐานให้ อปท. เป็นต้น 1. สร้างสัมมาชีพภายใต้แนวคิด “ชาวบ้านสอนชาวบ้าน” ด้วยกระบวนการ 2. รวมกลุ่มอาชีพและพัฒนาลักษณะ Cluster (อาชีพเหมือนกัน/เชื่อมโยงกัน : เมนูอาชีพ) • สร้างมูลค่าเพิ่มตามห่วงโซ่การตลาด • พัฒนา Product Innovative • พัฒนาวิสหากิจใหม่ 3. บูรณาการการทำงานร่วมกันในรูปแบบประชารัฐ แนวทาง/วิธีการ/โครงการ/กิจกรรม 1. ส่งเสริมการสร้างเครือข่าย 2. เชื่อมโยงแหล่งทุน 3. เชื่อมโยงตลาด (ตลาดชุมชน ตลาดท้องถิ่น ตลาดประชารัฐ กระดานสินค้า) 4. ประเมินผล สรุปบทเรียน กระบวนงาน การหาข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนา และแก้ไขปัญหา การพัฒนา เพื่อสร้างความยั่งยืน ตัวชี้วัด 1. จำนวนครัวเรือนยากจนได้รับการแก้ไขปัญหา 2. จำนวนครัวเรือนยากจน มีรายได้ผ่านเกณฑ์ กลไกสนับสนุน : อาสา “ประชารัฐ” พัฒนาพื้นที่ / ศักยภาพชุมชน : ทุนชุมชน 5 ด้าน

8 การขับเคลื่อนงาน OTOP

9 แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ปีงบประมาณ 2561
ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ การตลาด พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตผู้ประกอบการ OTOP กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา (กลุ่ม D) จำนวน 3,040 ราย - OTOP ตลาดนัดชุมชน ไทยช่วยไทย คนไทยยิ้มได้ (77,756 ครั้ง ) - ศูนย์แสดง จำหน่ายและกระจายสินค้าใต้ทางด่วนกรุงเทพฯ (3 แห่ง/ครั้ง) - OTOP To The Town ( 10 ครั้ง) - OTOP ภูมิภาค ( 5 ครั้ง) - OTOP City (1 ครั้ง) - OTOP MIDYEAR (1 ครั้ง) - ศิลปาชีพประทีปไทย OTOP ก้าวไกลด้วยพระบารมี (1 ครั้ง) - จัดแสดงและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน (30 ครั้ง) - เพิ่มประสิทธิภาพนักการตลาด OTOP Trader สู่การตลาดยุคดิจิตอล 4.0 (50 ราย) - พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ขึ้นเครื่อง (360 ผลิตภัณฑ์) - พัฒนาศักยภาพผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ในการเข้าสู่ตลาดระบบ ออนไลน์ (380 ราย) การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา (กลุ่ม D) จำนวน 4,540 ผลิตภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ประเภทอาหาร จำนวน 1,400 ผลิตภัณฑ์ รวมเงิน 10,640,000 บาท พัฒนาผลิตภัณฑ์ผู้ประกอบการ OTOP รุ่นใหม่สู่ตลาด 4.0 จำนวน 300 ผลิตภัณฑ์ สร้างอัตลักษณ์และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ OTOP เชื่อมโยงสู่เส้นทางหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว จำนวน 150 ผลิตภัณฑ์ พัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP โดยโรงเรียน OTOP จำนวน 450 ผลิตภัณฑ์ งบประมาณ ปี พ.ศ. 2561 จำนวน 608,677,200 บาท รวมเงิน 184,680,000 บาท จำนวน 413,357,200 บาท ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP กลุ่ม D จำนวน 3,040 ราย/กลุ่ม พัฒนาผลิตภัณฑ์ จำนวน 6,840 ผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการตลาด จำนวน 77,807 ครั้ง เป้าหมาย

10 หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)
รายได้เป็น 177,400 ล้านบาท (เพิ่ม 20 %) (จากเดิมปี 60 ได้ 153,510 ล้านบาท โตขึ้น % ) เป้าหมายปี 61 ทำอย่างไร แผนปี 2561 1. ขยายฐานผู้ประกอบการเชิงรุก รักษาและยกระดับคุณภาพฐานเดิม ปี 2560 2. การพัฒนา Supply chain เชื่อมตลาด ครบทั้ง 76 จังหวัด 3. การขยายฐานเครือข่ายร่วม ขับเคลื่อนเพิ่มเติม เน้นร่วมมือพัฒนาผู้ประกอบการ, ยกระดับผลิตภัณฑ์, ส่งเสริมการตลาดและทำตาม MOU

11 หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) (ต่อ)
ทำอย่างไร แผน 2561 4. การจัดกลุ่มผู้ประกอบการที่มีศักยภาพเพื่อสนับสนุนการพัฒนาได้แม่นยำขึ้น พัฒนาร่วมกับสถาบันราชภัฏ 38 แห่ง ผลิตภัณฑ์ (กลุ่ม D) 7,790 ผลิตภัณฑ์ ผู้ประกอบการ 3,340 กลุ่ม/ราย 5. เพิ่มช่องทางการตลาด - รักษาช่องทางการตลาดเดิม - เพิ่มช่องทางการตลาดใหม่ ตลาดออนไลน์และเครือข่าย Thailand Mall โอทอปขึ้นเครื่อง Lazada 3. OTOPThai.Shop ฟาร์มสุข AIS Weloveshopping.com True 6. OTOP เพื่อการท่องเที่ยว ขยายผลเพิ่มหมู่บ้านฯ อีก 135 แห่ง งบประมาณ 1,634,037,300 บาท

12 การขับเคลื่อนประชารัฐฯ

13 วางแผนพัฒนา 3 กลุ่มงาน 5 กระบวนการ

14 Key Success 1. จังหวัดต้องเข้าไปสนับสนุนและเป็นพี่เลี้ยง โดยใช้กลไกประชารัฐจังหวัด ทำงานคู่ขนานไปกับบริษัทประชารัฐจังหวัด จำกัด 2. ไม่มีสูตรสำเร็จในแต่ละพื้นที่ ชุมชนลงมือต้นทำ เอกชนขับเคลื่อน รัฐสนับสนุน 3. การจัดตั้งบริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด จำกัด ไม่ใช่คำสำเร็จ แต่ถือเป็นจุดเริ่มต้น 4. การสรรหาคณะกรรมการและผู้จัดการบริษัท ต้องเป็นคนดี คนเก่ง เสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม และเป็นคนที่ทำงานได้จริง 5. คัดเลือกชุมชนเป้าหมายโดยคำนึงถึงศักยภาพของพื้นที่ ความต้องการของชุมชน ความรักสามัคคี ของคนในชุมชน และมีผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่น สามารถนำมาพัฒนาต่อยอดได้ 6. ปัจจัยที่จะสนับสนุนขับเคลื่อนการดำเนินงานของบริษัทประชารัฐรักสามัคคีให้ประสบความสำเร็จ ไม่ใช่เงิน แต่เป็นเครือข่ายในการทำงาน

15 พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ (SE) วิสาหกิจเพื่อสังคม
พัฒนาต่อยอด OTOP SMEs และวิสาหกิจชุมชน ให้เป็นวิสาหกิจเพื่อสังคม เป็นการทำงานลักษณะเครือข่าย เป้าหมายปี 61 แผน 2561 1. ขยายผลจัดตั้งบริษัทวิสาหกิจเพื่อสังคมกระจายเพิ่มมากขึ้น 2. กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่เพิ่ม 2,772 กลุ่ม 3. มีแผนพัฒนาธุรกิจที่มีประสิทธิภาพของบริษัทฯ 76 จังหวัด 4. เน้นพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อให้รายได้อยู่ในชุมชน (Local Economy) งบประมาณ 102,173,200 บาท

16 ตัวชี้วัด เพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน ส่งเสริมช่องทางการตลาด
แนวคิด ขับเคลื่อนเศรษฐกิจภายในประเทศ พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เชื่อมโยงชุมชน สร้างเครือข่ายระหว่างชุมชนให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวที่มีความเชื่อมโยงเป็นโปรแกรมท่องเที่ยวในแต่ละจังหวัด เชื่อมโยงกันในจังหวัด ในกลุ่มจังหวัดและในแต่ละภาคเป็นลำดับ ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ นำไปสู่เศรษฐกิจฐานรากเข้มแข็ง (Local Economy) ภายใต้กลไกประชารัฐ สร้างรายได้ให้ชุมชน ประชาชนมีความสุข สร้างความรู้ความเข้าใจ และ สร้างการมีส่วนร่วมในชุมชน เพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน ส่งเสริมช่องทางการตลาด และประเมินติดตาม กระบวนการ 1. เวทีสร้างความรู้ความเข้าใจแกนนำและกลไกการขับเคลื่อน กลุ่มเป้าหมาย จนท. อภ. , ผู้แทน คสป. , ผู้แทนบริษัทฯ , ผู้นำชุมชน 2.จัดเวทีสร้างการมีส่วนร่วมในพื้นที่ (จัดเวทีระดับชุมชน) กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ , ผู้แทนสมาชิกชุมชน ชุมชนเป้าหมาย ชุมชนในพื้นที (โดยกระบวนคัดเลือกจากกรรมการฯ) 1. ค้นหาและสร้างมูลค่าเพิ่มจากอัตลักษณ์ และ DNA ชุมชน 2. เพิ่มศักยภาพให้สถานที่ สินค้า บริการแหล่งท่องเที่ยว จัดสรรและดำเนินการในพื้นที่ 1. การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน ระดับอำเภอ 2. การสื่อสารสร้างการรับรู้ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยวฯ 3. ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด 1. จำนวนชุมชน/หมู่บ้านที่ได้รับการพัฒนาสินค้าและบริการ เพื่อการท่องเที่ยว 2. ร้อยละ ของชุมชน/ หมู่บ้านเป้าหมาย มี รายได้เพิ่มขึ้น มาตรการ/แนวทาง 1. แกนนำ/กลไกมีความรู้ความเข้าใจ 2. มีแกนนำขับเคลื่อน 1 คณะ/ชุมชน 3. แผนการพัฒนาหมู่บ้านท่องเที่ยว หมู่บ้านท่องเที่ยวโดยชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพ 1. ชุมชนมีรายได้เพิ่ม 2. มีสื่อ/กิจกรรมส่งเสริมการตลาด 3. มีบทเรียนเพื่อพัฒนา 1 ชุด ผลผลิต

17 ตลาดประชารัฐ

18

19 ตลาดประชารัฐในความรับผิดชอบของกรมการพัฒนาชุมชน
- 2,155 แห่ง เพื่อช่วยเกษตร OTOP - ใช้สถานที่ราชการ / เอกชน / ที่สาธารณะ - จัดรายวัน / รายสัปดาห์ / รายเดือน ตลาดประชารัฐคนไทยยิ้มได้ - จำหน่ายสินค้าอัตลักษณ์ / ตามฤดูกาล - ช่วยเหลือเกษตรกร / SMEs / ผู้มีรายได้น้อย - จัดเฉพาะกิจ / ส่งเสริมการท่องเที่ยว - บริษัทประชารัฐจังหวัด และจังหวัด ต่างๆ ตลาดประชารัฐของดีจังหวัด - ตลาดเชิงรุก นำเสนอผลผลิตการเกษตร / สินค้าคุณภาพ - ช่วยเหลือเกษตรกร / ผู้ประกอบการสินค้าคุณภาพ - จัดเฉพาะกิจในพื้นที่ห้างสรรพสินค้า - บริษัทประชารัฐจังหวัด ร่วมกับพาณิชย์จังหวัด ตลาดประชารัฐ Modern Trade

20 ก้าวต่อไป "ตลาดประชารัฐ" เพื่อยกระดับรายได้ สร้างศักยภาพการแข่งขันของผู้ประกอบการได้อย่างยั่งยืน
ปรับปรุงตลาดประชารัฐสู่มาตรฐานตลาดสะอาด ตลาดปลอดภัย โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานตลาดที่กระทรวงมหาดไทยร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่งตั้งและอบรมผู้บริหารจัดการตลาดประชารัฐ Chief Marketing Officer (CMO) ประจำแต่ละตลาดทุกประเภท เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการตลาด จัดทาแผนงานการตลาด วิเคราะห์การตลาด เพิ่มยอดขาย พัฒนาสินค้า สร้างความพึงพอใจให้กับผู้บริโภค และแนวทางการพัฒนากลยุทธ์ทางธุรกิจรูปแบบใหม่ จัดตั้ง "คลินิกผู้ประกอบการตลาดประชารัฐ" เพื่อสัมภาษณ์และคัดกรองผู้ประกอบการที่ประสงค์จะจาหน่ายสินค้าอย่างแท้จริง นำมาพัฒนาศักยภาพการสรรหาสินค้าทั้งด้านการค้าขายและการตลาด ส่งเสริมตลาดประชารัฐเพื่อการท่องเที่ยว ร่วมกับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา คัดเลือกตลาดประชารัฐที่มีศักยภาพ เข้าร่วมกิจกรรม “ปีท่องเที่ยววิถีไทย เก๋ไก๋อย่างยั่งยืน” ติดตามประเมินผลความสำเร็จโครงการตลาดประชารัฐ โดยความร่วมมือระหว่างกรมการพัฒนาชุมชนกับสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในทุกระยะการดำเนินงาน

21 สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้ชุมชน บนวิถีพอเพียง
โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน และลดความเหลื่อมล้ำ โครงการที่มีประโยชน์ต่อประชาชนที่กระทรวงมหาดไทยมอบเป็นของขวัญปีใหม่แก่ประชาชน พ.ศ.2561 โดย กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

22 ความเป็นมา สร้างโอกาสการมีงานทำให้ประชาชนมากขึ้น
- รัฐบาลมีนโยบายลดความเหลื่อมล้ำและแก้ไขปัญหา ความยากจน - ปี 2560 มีผู้มีรายได้น้อยลงทะเบียนเพื่อขอรับ สวัสดิการแห่งรัฐมากถึง 11.4 ล้านคน - รัฐบาลจะดำเนินการต่อเนื่องจากโครงการสวัสดิการ แห่งรัฐ โดยจะเริ่มดำเนินการที่จังหวัดกาฬสินธุ์เป็น จังหวัดแรก สร้างโอกาสการมีงานทำให้ประชาชนมากขึ้น

23 วัตถุประสงค์ เป้าหมาย 1 เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็ง
2 เพื่อให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น เป้าหมาย สร้างอาชีพสุจริตให้กับประชาชนในระดับบุคคลและระดับครัวเรือนจากฐานข้อมูล จปฐ. 1 2 สร้างรายได้จากการจำหน่ายสินค้า OTOP เพิ่มขึ้น 20% เป็นเงิน 177,400 ล้านบาท พัฒนาต่อยอด OTOP, SE และวิสาหกิจชุมชนให้เป็นวิสาหกิจเพื่อสังคม เป็นการทำงานในลักษณะเครือข่าย 3 สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งทุนในชุมชนให้กับกลุ่มอาชีพ และ OTOP 4

24 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ระยะเวลาดำเนินการ 1 2 3 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561
ครัวเรือนสัมมาชีพจำนวน 523,640 ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 1 ยอดจำหน่ายสินค้า OTOP เพิ่มขึ้น 20% เป็นเงิน 177,400 ล้านบาท 2 บริษัทประชารัฐรักสามัคคี (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด มีแผนพัฒนาธุรกิจ ที่มีประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนงาน 100% 3

25 ผลสัมฤทธิ์ของงาน ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีรายได้พ้นเกณฑ์ จปฐ. เชิงปริมาณ
เชิง คุณภาพ ครัวเรือนสัมมาชีพได้รับการฝึกอาชีพ จำนวน 523,640 ครัวเรือน 1 ผู้ประกอบการ OTOP จำนวน 3,340 กลุ่ม/ราย ได้รับการพัฒนาศักยภาพในด้านการบริหารจัดการ การจัดทำแผนธุรกิจ และผลิตภัณฑ์ (กลุ่ม QD) 7,790 ผลิตภัณฑ์ ได้รับการพัฒนาคุณภาพและส่งเสริมการตลาด 77,807 ครั้ง 2 บริษัทประชารัฐรักสามัคคี (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด พัฒนากลุ่มอาชีพ 2,772 กลุ่ม ให้มีรายได้เพิ่มขึ้น 3

26 ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับจากการดำเนินโครงการ
ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ (มีอาชีพและรายได้เพิ่มขึ้น และสามารถเข้าถึงแหล่งทุนในชุมชนได้อย่างทั่วถึงและเพียงพอ) วงเงินงบประมาณ 1,429,625,600 บาท

27 “ของขวัญมหาดไทย ส่งต่อความสุข รับปีใหม่ ๒๕๖๑

28 สถานการณ์ นโยบายของรัฐบาล ต้องการ ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม และต้องการสร้างโอกาสให้ประชาชนในชนบท เข้าถึงบริการของรัฐ ประกอบกับ วิสัยทัศน์ พช. เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง และชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายใน ปี 2564 วัตถุประสงค์สำคัญ สำหรับโครงการฯนี้ เพื่อส่งเสริมอาชีพแก่ประชาชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มโอกาส และรายได้ แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ตลอดจน ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ชุมชนพึ่งตนเองได้ ดำเนินการใน 20,140 หมู่บ้าน รวม 523,640 ครัวเรือน

29 แนวคิดสำคัญ ยึดพื้นที่ครัวเรือนรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.เป็นลำดับแรก ให้ชาวบ้านสอนชาวบ้าน ปราชญ์ชุมชนอยู่ในพื้นที่กับชาวบ้าน เกิดการเรียนรู้ร่วมกันตลอดเวลา ดำเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 1 2 3

30 กระบวนการ       รวมกลุ่ม Cluster ช่วยเหลือต่อยอด
จัดตั้งและ พัฒนา กลุ่มอาชีพ - ศูนย์สาธิตการตลาด - ตลาดประชารัฐ - ร้านค้าประชารัฐสุขใจ Shop - ตลาดนัดชุมชน - กระดานสินค้า จำหน่ายตามช่องทางตลาด ฝึกอาชีพ ให้กับ ครัวเรือน ค้นหาปราชญ์/สร้างวิทยากร/สร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน หาแหล่งเงินกู้ จากทุนในชุมชน เพื่อขยายผล - กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต - กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี - กองทุนหมู่บ้าน ฯลฯ ระยะเวลาดำเนินการ ในปี เริ่มต้น มค. – มีค. เร่งรัด เมย. – มิย. และสร้างความยั่งยืน กค. – กย.

31 เป้าหมายในการพัฒนา ปี 2561 จำนวน 2,772 กลุ่ม
กล่าวโดบสรุป โครงการของขวัญปีใหม่เพื่อมอบใหม่ประชาชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้ชุมชน บนวิถีพอเพียง เป้าหมาย สร้างรายได้ให้ชุมชน ประชาชนมีความสุข กลุ่มเป้าหมาย คือ ชุมชน / ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ 3 กลุ่มงาน เกษตร แปรรูป ท่องเที่ยวโดยชุมชน พัฒนากลุ่มเป้าหมายผ่าน 5 กระบวนการ การเข้าถึงปัจจัยการผลิต การสร้างองค์ความรู้ การตลาด การสื่อสารสร้างการรับรู้เพื่อความยั่งยืน และการบริหารจัดการ เป้าหมายในการพัฒนา ปี 2561 จำนวน 2,772 กลุ่ม

32 งบประมาณ ปี 61

33 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ระดับจังหวัด งบประมาณจัดสรรไตรมาส 1-2 ลำดับที่ (จัดเรียงลำดับร้อยละการเบิกจ่ายมากไปหาน้อย) เบิกจ่ายได้เฉลี่ยร้อยละ 36.44 ร้อยละ 7

34 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ระดับจังหวัด งบประมาณจัดสรรไตรมาส 1-2 ลำดับที่ (จัดเรียงลำดับร้อยละการเบิกจ่ายมากไปหาน้อย) เบิกจ่ายได้เฉลี่ยร้อยละ 36.44 ลำดับ ที่ หน่วยงาน เบิกจ่ายได้ ร้อยละ 11 สกลนคร 54.46 21 ราชบุรี 48.35 31 นครปฐม 44.38 12 กาญจนบุรี 53.93 22 ร้อยเอ็ด 46.89 32 สมุทรสาคร 44.03 13 นครราชสีมา 52.56 23 นครสวรรค์ 46.88 33 นราธิวาส 43.29 14 มุกดาหาร 51.76 24 ปทุมธานี 46.31 34 อุบลราชธานี 43.00 15 กาฬสินธุ์ 51.45 25 นนทบุรี 46.23 35 ฉะเชิงเทรา 42.33 16 ปราจีนบุรี 51.14 26 สระบุรี 46.09 36 เพชรบุรี 42.29 17 พิษณุโลก 50.82 27 สระแก้ว 45.53 37 สมุทรสงคราม 41.34 18 สงขลา 50.65 28 กำแพงเพชร 44.94 38 แม่ฮ่องสอน 40.80 19 ปัตตานี 50.44 29 อุทัยธานี 44.89 39 บุรีรัมย์ 40.37 20 ลพบุรี 48.82 30 มหาสารคาม 44.87 40 กระบี่ 39.95 8

35 เบิกจ่ายได้เฉลี่ยร้อยละ 36.44
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ระดับจังหวัด งบประมาณจัดสรรไตรมาส 1-2 ลำดับที่ (จัดเรียงลำดับร้อยละการเบิกจ่ายมากไปหาน้อย) เบิกจ่ายได้เฉลี่ยร้อยละ 36.44 ลำดับ ที่ หน่วยงาน เบิกจ่ายได้ ร้อยละ 41 อุตรดิตถ์ 39.52 53 ระนอง 31.95 65 บึงกาฬ 25.56 42 ชลบุรี 38.83 54 พิจิตร 31.80 66 พังงา 25.47 43 แพร่ 38.28 55 จันทบุรี 31.52 67 ชัยภูมิ 25.02 44 อุดรธานี 38.03 56 พะเยา 30.82 68 ลำปาง 23.55 45 ยะลา 37.83 57 ยโสธร 30.73 69 สุราษฎร์ธานี 21.61 46 สุรินทร์ 37.50 58 หนองคาย 30.08 70 สตูล 21.17 47 ชุมพร 36.94 59 เชียงราย 29.87 71 เพชรบูรณ์ 16.21 48 ตาก 36.90 60 อำนาจเจริญ 29.73 72 สุโขทัย 16.19 49 นครนายก 36.46 61 สมุทรปราการ 29.62 73 น่าน 15.63 50 หนองบัวลำภู 35.36 62 ระยอง 29.20 74 ภูเก็ต 11.22 51 ตรัง 34.80 63 พัทลุง 28.62 75 เชียงใหม่ 8.83 52 ตราด 32.86 64 ลำพูน 27.97 76 นครศรีธรรมราช 6.10 9

36 รูปแบบ/วิธีการ การบริหารที่ทำให้การเบิกจ่ายงบประมาณ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
1. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด/อำเภอ ร่วมกันวิเคราะห์ศักยภาพและผลการเบิกจ่ายงบประมาณในปีที่ผ่านมา พร้อมนำข้อมูลการจัดสรรงบประมาณ มาร่วมกำหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณในปี 2561 2. การศึกษารายละเอียดโครงการ/กิจกรรม ให้มีความชัดเจน และนำข้อมูล มากำหนดเป็นแผนปฏิบัติการโครงการ/กิจกรรม แผนการเบิกจ่ายงบประมาณ รายเดือน/รายไตรมาส และภาพรวม โดยให้ทั้งจังหวัดถือเป็นแนวทางปฏิบัติเดียวกันทั้งหมด 3. การจัดการประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการให้บุคลากรภายในจังหวัดทุกคน ได้รับทราบเป้าหมายการดำเนินงาน และรายละเอียดการดำเนินงาน

37 รูปแบบ/วิธีการ การบริหารที่ทำให้การเบิกจ่ายงบประมาณ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
4. จัดทำคู่มือการจัดซื้อจัดจ้าง พร้อมอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ทั้งระดับจังหวัดและอำเภอ จัดตั้งทีมงานสนับสนุนการบริหารจัดการงบประมาณ เพื่อติดตามสนับสนุน ให้คำปรึกษา และช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหา/อุปสรรค ที่เกิดขึ้น 5. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด จัดระบบการติดตาม ควบคุมการเบิกจ่ายงบประมาณ เช่น การจัดตั้งกลุ่มไลน์ เพื่อรวบรวมและรายงานผลการเบิกจ่าย การกำหนดให้มีการรายงานผลการเบิกจ่ายเป็นรายสัปดาห์ และรายเดือน

38 กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

39 ตัวชี้วัดกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
1 ตัวชี้วัดกระทรวงการคลัง จำนวน 4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด 2 ตัวชี้วัดผลผลิตของแผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2561–2564 จำนวน 7 ตัวชี้วัด 3 ตัวชี้วัดกระทรวงมหาดไทย จำนวน 3 ตัวชี้วัด 4 ตัวชี้วัดอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนกับพัฒนาการจังหวัด จำนวน 1 ตัวชี้วัด


ดาวน์โหลด ppt ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google