บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 1 : Introduction of System ข้อมูล และ สารสนเทศ
Advertisements

Information System.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
Utility (โปรแกรมอรรถประโยชน์)
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Surachai Wachirahatthapong
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ศท.1401 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารนิเทศ ศศ สารนิเทศเบื้องต้น
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Information Technology
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
Seminar in Information Knowledge and Technology Management ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
Irwin/McGraw-Hill Copyright © 2000 by The McGraw-Hill Companies, Inc. All rights reserved. 1 Irwin/McGraw-Hill Copyright © 2000 by The McGraw-Hill Companies,
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
สรุปผลการดำเนินงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2558 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่
เนื้อหาที่จะเรียน คอมพิวเตอร์คืออะไร ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ อินเตอร์เน็ต Microsoft Office.
ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆที่ เป็นตัวเลข ข้อความหรือ รายละเอียดซึ่งอาจอยู่ใน รูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
ระบบคอมพิวเตอร์.
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
13 October 2007
ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
11 May 2014
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61.
Data mining สุขฤทัย มาสาซ้าย.
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Introduction to Data mining
Operating System Overview
13 October 2007
บทที่ 3 แบบจำลองของฐานข้อมูล (Database Model)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 2 ซอฟต์แวร์ รายวิชา ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อ.อภิพงศ์ ปิงยศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
เหตุใด... ต้องมีการประกาศราคากลาง
บทที่ 4 ฐานข้อมูล.
Database ฐานข้อมูล.
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Group Decision Support systems: GDSS
การจัดการสารสนเทศ Management Information System (MIS)
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
Introduction to Structured System Analysis and Design
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการประมวลผลข้อมูล (Introduction to Computer and Data Processing) บทที่ Business Computer & Information.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอที (Information Technology :IT) เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และหาทางนำมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ สารสนเทศ หมายถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่เกิดมาได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก เรียนรู้สภาพสังคมความเป็นอยู่ กฎเกณฑ์และวิชาการ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอที (Information Technology :IT) เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล

สถานภาพการใช้ไอทีในปัจจุบัน เสริมสร้างคุณภาพชีวิต กระจายความเท่าเทียมกันของมนุษย์ในด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ไม่จำกัดอยู่ในสถานศึกษา ส่งเสริมด้านพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม

ไอทีและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง เทคโนโลยีสารสนเทศหรือไอที (Information Technology – IT) หมายถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้สอดคล้องกับการสื่อสารให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากที่สุด

ไอทีและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ข้อมูล (Data) หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นข้อเท็จจริงต่าง ๆ มากมายในระบบการทำงานของเรา

ไอทีและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง สารสนเทศ (Information) คือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว สามารถนำไปใช้ประโยชน์หรือนำกลับมาเป็นข้อมูล เพื่อใช้ในการประมวลผลขั้นต่อไป

ไอทีและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ระบบสารสนเทศ(Information System-IS) หมายถึง ระบบงานคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุนการปฏิบัติงานและทำให้เกิดสารสนเทศที่เป็นประโยชน์

ประเภทของระบบสารสนเทศ (Information System-IS) 1. ระบบประมวลผลรายการ (TP หรือ DP) เป็นระบบที่ถูกใช้ดำเนินการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นเป็นรายการประจำมีการเปลี่ยนแปลง อยู่เสมอ 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System –MIS) เป็นระบบที่มีส่วนร่วมในการประมวลผลลัพธ์ที่เป็นการสรุปอันจำนำไปสู่ ประโยชน์ในการบริหารจัดการ

ประเภทของระบบสารสนเทศ (Information System-IS) 3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System - DSS) เป็นระบบที่มีส่วนช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารด้วยการเสนอทางเลือกให้ 4. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System – EIS) เป็นระบบสารสนเทศที่เหมาะสำหรับผู้บริหารระดับสูงใช้ในการวางแผนหรือ ดำเนินกลยุทธ์เพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

คอมพิวเตอร์คืออะไร อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic devices) ที่มนุษย์เริ่มใช้ในการจัดเก็บข้อมูลที่อาจเป็นไปได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์อื่นที่ใช้สื่อความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดยคุณสมบัติที่สำคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกำหนดชุดคำสั่งล่วงหน้าได้หรือโปรแกรมได้ (Programmable)

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์(Software) บุคลากร (Peopleware) ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) กระบวนการทำงาน (Procedural) และคู่มือปฏิบัติงาน

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ลักษณะทางกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถมองเห็นหรือสัมผัสได้

ซอฟต์แวร์(Software) ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้อุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน เขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer) เป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้น เขียนเป็นซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆ

ประเภทของซอฟต์แวร์ Operating system program เป็นซอฟต์แวร์ช่วยให้สามารถบริหารทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ Application program เป็นซอฟต์แวร์ช่วยทำงานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้

บุคลากร (People) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ แบ่งได้หลายระดับตามการใช้งาน

ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) ข้อมูล หมายถึงข้อมูลที่ได้จากการสำรวจจริง แต่สารสนเทศ หมายถึงสิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลไปผ่านกระบวนการประมวลผลใด ๆ ก่อน ข้อมูลและไฟล์ข้อมูล Unstructured file - ไฟล์โปรแกรมหรือ Application file - ไฟล์ข้อมูลของแต่ละ Ap plication เช่น .doc, .xls, .ppt, .htm หรือ .html - ASCII file หรือ text file, .dat file เตรียมโดย editor เช่น notepad หรือ edit ของ DOS Structured file เช่น ไฟล์ฐานข้อมูล อักขระ (character) เขตข้อมูล (field) ระเบียน (record) ไฟล์ (file หรือ table) ฐานข้อมูล (database)

กระบวนการทำงาน (Procedural) และคู่มือปฏิบัติงาน กระบวนการทำงาน (Procedure) ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะ บางอย่างจากคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต้องรู้กระบวนการทำงานพื้นฐานของ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง คู่มือปฏิบัติงาน (Documentation) คือเอกสารอ้างอิงสำหรับการใช้งานและการ บำรุงรักษาของกระบวนการทำงาน

การจำแนกเครื่องคอมพิวเตอร์ตามขนาดและประสิทธิภาพ ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง แต่มีราคาแพง นิยมใช้ในงานที่มีการคำนวณที่ซับซ้อน

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) คอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานหลาย ๆ โปรแกรมพร้อมกันโดยใช้หลักการ มัลติโปรแกรมมิง (multiprogrammimg)ขนาดใหญ่

มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)   มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เวิร์คสเตชั่น (Workstation) ซึ่งคอมพิวเตอร์สำหรับผู้ใช้คนเดียว เน้นการแสดงผลด้านกราฟิก ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ได้แก่ Desktop, Notebook, PocketPC, Plam

คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network Computer) เปลี่ยนแปลงมาจากไมโครคอมพิวเตอร์ โดยได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดของอินเตอร์เนตโดยนิยมเรียกว่า NC ถูกออกแบบให้เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่ำ ทำให้เหมาะกับการใช้งานปริมาณมากๆ ในองค์กรขนาดใหญ่ รวมทั้งผู้ใช้ทั่วไป

คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer) ฝังไปในอุปกรณ์ต่างๆ ทำให้มองไม่เห็นจากรูปลักษณ์ภายนอกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ นิยม ใช้ในการทำงานเฉพาะด้าน โดยทำหน้าที่เป็นตัวควบคุมหน้าที่การทำงานบางอย่าง

วิวัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 ภาษาเครื่อง (Machine Language) ยุคที่ 2 ภาษาแอสแซมบลี (Assembly Language) 3 ยุคที่ 3 ภาษาสูง (High Level Language) ยุคที่ 4 ภาษาในยุคที่ 4 (4GL) ยุคที่ 5 ยุคของภาษาระบบปัญญาประดิษฐ์

แผนการพัฒนาไอทีระดับประเทศไทยและแนวโน้มโลกอนาคต 2538 ปีแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศไทย นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ : IT Plan 2000, IT 2010 (2544-2553) สำนักงานเลขานุการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค (NECTEC)