ทิศทางตลาดแรงงานในอนาคตอย่างไรที่ว่า “ใช่” ในการเตรียมวางแผนศึกษาต่อนักเรียน
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21 มีสาระวิชาหลักและทักษะเพื่อการดำรงชีวิต ดังนี้ - ความรู้เรื่องโลก (Global Awareness) - ความรู้ด้านการเงิน, เศรษฐกิจ, ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy) - ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) - ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) - ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy)
ทักษะในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 3R 7C 5M ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
Reading (W)Riting (A)Rithmetics 3R
7C 1. Critical thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม) Cross-cultural understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ Communication, information & media literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ Computing & ICT literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career & learning skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้) 7C
5M (5 Minds ของ Gardner ใน 21 st) Disciplined Mind จิตเชี่ยวชาญ มีวินัย Synthesizing Mind จิตรู้สังเคราะห์ Creative Mind จิตสร้างสรรค์ Respectful Mind จิตรู้เคารพ Ethical Mind จิตรู้จริยธรรม
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกำหนดความพร้อมของนักเรียนในการเข้าสู่การทำงาน ซึ่งจะมีความซับซ้อนเพิ่มขึ้นในโลกปัจจุบัน ทักษะด้านนี้ ได้แก่ - ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) - การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา (Critical thinking and problem solving) - การสื่อสารและความร่วมมือ (Communication and Collaboration)
ทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี การดำเนินชีวิต ขับเคลื่อนด้วยสื่อและเทคโนโลยี พลเมืองและแรงงานที่มีประสิทธิภาพ ต้องสามารถแสดงทักษะและปฏิบัติงานได้หลากหลาย ประกอบด้วย - ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) - ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy) - ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Communication and Technology, Literacy)
ทักษะชีวิตและอาชีพ ชีวิตและสภาพการทำงานในยุคที่แข่งขันด้านข้อมูลข่าวสาร การดำรงชีวิตที่มีความซับซ้อน นักเรียนต้องใส่ใจอย่างเคร่งครัดในการพัฒนาทักษะชีวิตต่อไปนี้ - ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) - การริเริ่มและการกำกับดูแลตนเองได้ (Initiative and Self-Direction) - ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม (Social and Cross-Cultural Skills) - การมีผลงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (Productivity and Accountability) - ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (leadership and Responsibility)
ทักษะแห่งทศวรรษที่ 21 ทักษะ 7 กลุ่มหลัก ทักษะทางด้านเทคโนโลยี ความสนใจใคร่รู้และมีจินตนาการ การคิดวิจารณญาณและการแก่ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรม ทักษะในการสื่อสารและร่วมมือกัน การคิดในเชิงธุรกิจและทักษะประกอบการ ทักษะการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมและการสนใจต่อโลก จาก หนังสือทักษะแห่งทศวรรษที่ 21 ต้องก้าวให้พ้นกับดักตะวันตก ไพฑูรย์ สินลารัตน์ ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต
7 ทักษะเพื่อการอยู่รอด การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา การร่วมมือกับเครือข่ายต่างๆ การปรับตัวและการมีความแคล่วคล่องว่องไว การคิดริเริ่มและการเป็นผู้ประกอบการที่สร้างสรรค์ การสื่อสารทั้งทางการพูดและการเขียน การเข้าถึงข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล การใฝ่รู้และมีจินตนาการ จาก Source : Wagner, 2008, (ทิศมา แขมมณี, 2555)
ทักษะ 10 อย่างของพนักงานที่นายจ้างต้องการ ทักษะในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ทักษะในการดูแลแก้ไขอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงานที่ใช้อยู่ประจำ ทักษะทางด้านทรัพยากรมนุษย์ มีมนุษยสัมพันธ์รู้จักการติดต่อ ทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ ; การส่งข่าวสารจาก www. การส่งอีเมล/ดาวน์โหลดโปรแกรมต่างๆ ทักษะที่ได้รับการอบรมมาเป็นพิเศษ ; เรียนมาทางไหน จะประกอบอาชีพอะไร เช่น ต้องการพนักงานขายและอบรมการขาย/การดูแลลูกค้า/ประชาสัมพันธ์
ทักษะ 10 อย่างของพนักงานที่นายจ้างต้องการ (ต่อ) ทักษะทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เช่น เก่งคณิตศาสตร์ ควรประกอบอาชีพวิศวกรรม/การแพทย์/สาขาเกี่ยวข้องทางวิทยาศาสตร์ ทักษะการจัดการด้านการเงิน ทักษะในเรื่องของการจัดการข้อมูล ; ควรเก็บข้อมูลที่รวดเร็ว ที่มีประโยชน์ต่อการทำงาน ทักษะด้านภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ/จีน/ญี่ปุ่น/เยอรมัน) ทักษะในการบริหารธุรกิจ
เรียนอย่างไรไม่ตกงานในยุค AEC วิศวกร และไอที แพทย์ นักบัญชี นักสำรวจ ทันตแพทย์ บริหารและท่องเที่ยว สถาปนิก พยาบาล จาก Pantown
7 อาชีพ แห่งอนาคต อาชีพ Webmaster/Programmer/ Graphic Design มัคคุเทศก์/นักแปล/ธุรกิจระหว่างประเทศ/นักกีฬา วิศวกร/นักธรณีวิทยา/นักเทคโนโลยีชีวภาพ ผู้นำเข้าส่งออก/นักการทูต/นักกฎหมายระหว่างประเทศ นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย/ออกแบบผลิตภัณฑ์/แพทย์แผนไทย อาชีพที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ/แพทย์/ทันตแพทย์/เภสัชกร/พยาบาล อาชีพที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์/สาขาออกแบบภายใน/สาขาภาพยนตร์และวีดิโอ/สาขาการออกแบบ จาก ฝ่ายวิชาการ สถาบัน The Act (พี่อ้น)
7+1 วิชาชีพอาเซียน โอกาสทองของผู้เลือกเรียนอาชีวศึกษา ภาคบริการ อาชีพ ด้านสุขภาพ (3 อาชีพ) แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล ด้านการก่อสร้าง สถาปนิก วิศวกร ช่างสำรวจ ด้านการเงิน (1 อาชีพ) นักบัญชี ด้านการท่องเที่ยว (32 อาชีพ) สาขาการโรงแรม 23 ตำแหน่ง สาขาการท่องเที่ยว 9 ตำแหน่ง
ตำแหน่งงานพื้นฐานที่เป็นที่ต้องการของตลาด กลุ่มงานด้านไอที เช่น โปรแกรมเมอร์/วิศวกรซอฟต์แวร์/ผู้พัฒนาเว็บไซต์/วิศวกรสิ่งแวดล้อม ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา โดยเฉพาะ จีน ญี่ปุ่น กลุ่มงานด้านงานขาย หรือเซลล์ แยกเป็น 3.1 สายงาน ด้านบัญชีและการเงินและการตลาด (คณะพาณิชยศาสตร์การบัญชี/คณะบริหารธุรกิจ) 3.2 สายงาน ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ทั้งกลุ่มอุตสาหกรรม และ วิศวกรรม กลุ่มไอที และผู้มีความสามารถด้านภาษาที่ 3 ; สาขาที่น่าเรียน คณะวิทยาศาสตร์คอมฯ/วิศวกรรมศาสตร์ สาขาใหม่ๆ ด้านมัลติมีเดีย/เกมส์/โทรศัพท์มือถือ/ซอฟแวร์ กลุ่มทางด้านภาษา แรงสุด ญี่ปุ่น คณะอักษรศาสตร์/ศิลปะศาสตร์/มนุษยศาสตร์
การเตรียมทำงานต้องมี “2ร 2อ” การเตรียมทำงานต้องมี “2ร 2อ” 1. อดทน 1. เรียนรู้ 2. อดกลั้น 2. รับผิดชอบ
คนอย่างไรที่นายจ้างต้องการ K - Knowledge : มีความรู้ในเนื้อหาวิชาการ วิชาชีพที่เกี่ยวกับการทำงานเพียงพอ มีประสบการณ์ U - Understanding : สามารถเรียนรู้ได้เร็ว/สามารถพัฒนาได้ S - Skill : มีทักษาเกี่ยวกับงาน เช่น ภาษา/เทคโนโลยีสมัยใหม่/ทักษะในการแสวงหาข้อมูล/ทักษะการตัดสินใจ/การปรับตัว/ทักษะความสัมพันธ์กับผู้อื่น/งานบริการ A – Attitude : มีทัศนคติที่ดีในการทำงาน/ไม่เกี่ยงงาน/เต็มใจทำงาน สามารถทำงานได้ไม่ว่าบทบาทใด บทความจาก Favorites