งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รศ.ดร.สจีวรรณ ทรรพวสุ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สู่สากล ที่มา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รศ.ดร.สจีวรรณ ทรรพวสุ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สู่สากล ที่มา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รศ.ดร.สจีวรรณ ทรรพวสุ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สู่สากล ที่มา
การปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ สมรรถนะผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา (มาตรฐานวิชาชีพ) การก้าวสู่ประชาคมอาเซียน มาตรฐานการศึกษาสากล (ศตวรรษที่ 21 )

2 การเปลี่ยนแปลงสังคมโลก
เกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน “ศตวรรษแห่งเอเซีย” การเปลี่ยนแปลงด้านพลังงาน อาหาร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

3 จุดเปลี่ยนของสังคมโลก
จุดเดิม จุดเปลี่ยน จุดเด่น จุดมุ่งหมาย แนวคิด Modernization Post- Modernization Critical / Analytical รู้จักตัวเอง กระบวนการ Industrialization Post- Industrialization Creative / Innovative พัฒนาตัวเอง วิถี Democracy Post- Democracy Involvement / Participation เข้าใจสังคม ความสัมพันธ์ Capitalism Post- Capitalism Responsibility Ethics มีชีวิตที่ดีขึ้น ผล Knowledge Based Post- Knowledge Based Value / Equality สร้างค่านิยม ภาพ Globalization Post-Globalization Diversification / Individualization ยอมรับความหลากหลาย ที่มา ศ.ดร. ไพฑูรย์ สินลารัตน์,2555

4 21st Century Skills : How can you prepare
students for the new Global Economy ? Knowledge Skills English Language (spoken) Critical Thinking/Problem Solving Reading comprehension (English) Communications (oral & written ) Writing (English) Collaboration/Teamwork Mathematics Diversity Science Information Technology Applications Government / Economics Leadership Humanities / Arts Lifelong Learning/Self-Direction Foreign Languages Professionalism/Work Ethic History / Geography Ethics/Social Responsibility

5 พลโลกในศตวรรษที่ 21 สามารถที่จะเห็นและเข้าแก้ปัญหาในฐานะของสมาชิกของสังคมโลก สามารถร่วมทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ สร้างสรรค์และเป็นระบบ เต็มใจที่จะแก้ไขข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี เต็มใจที่จะเปลี่ยนวิถีชีวิตและ บริโภคพิสัยเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม 6)มีจริยธรรมคุณธรรม 7)มีความรู้ทั่วไปเพื่อดำรงชีวิตและมีความรู้เฉพาะในการประกอบอาชีพ 8)มีทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม 9)มีทักษะทางเทคโนโลยี สื่อ และสารสนเทศ 10)มีทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต ที่มา Cogan and Derricott :1998,Pitiyanuwat :2007; Trilling and Fadel 2009 and Barber :2010 อ้างถึงใน ศ.ดร. สมหวัง พิริยานุวัฒน์ (ราชบัณฑิตสถาน)

6 Good lifelong learning habits!
Education Challenges WHAT is taught: Skills , not just Knowledge (critical thinking etc.) Relevance to real-world (for motivation, and employability) Rigor of curriculum (cohesiveness, and applicability) Interdisciplinary (embedded in curriculum, and collaborative) STEM as careers, and as literacy for all Mandatory English in non-English-speaking countries Stressing creativity (and innovation Entrepreneurship) Credentialing of industry certifications Credentialing of global courseware (including free) Microcredits for fast retraining (even for engineers/scientists) Good lifelong learning habits!

7 HOW curriculum is taught: Flexibility in time and space
Reduce overall duration (essential vs. superfluous) Constructivist (Project-based with designs, inquiries, simulations, portfolios etc.) not only Didactic Involving real-world experts and tools Source: Partnership for 21st Century Skills,2010

8 FRAMEWORK FOR 21st CENTURY LERNING

9 21st CENTURY STUDENT OUTCOMES
CORE SUBJECTS • English, reading or language arts • World languages • Arts • Mathematics • Economics • Science • Geography • History • Government and Civics

10 21st Century Themes Global awareness Financial, Economic,
Business and Entrepreneurial literacy Civic literacy Health literacy

11 Learning and Innovation Skills
Creativity and innovation skills Critical thinking and problem solving skills Communication and collaboration skills Information, Media and Technology Skills Information literacy Media literacy ICT (information and communications technology) literacy

12 Life and Career Skills Flexibility and adaptability
Initiative and self-direction Social and cross-cultural skills Productivity and accountability Leadership and responsibility

13 EDUCATION SUPPORT SYSTEMS
21ST CENTURY EDUCATION SUPPORT SYSTEMS Standards and Assessments Curriculum and Instruction Professional Development Learning Environments

14 ICT Preparatory Program (~90 Hours) English Mathematics
ICT Preparatory : 21st Century Skills (10 Weeks) การเตรียมความพร้อมนักศึกษา ICT ตัวอย่าง ตามกรอบแนวคิด 21st Century Skills Core subjects ICT Preparatory Program (~90 Hours) English Mathematics World languages Information, Media and Technology skills Information Literacy Media Literacy ICT Literacy (~70 Hours) Computer Digital Art & Multimedia Leveraging ICT Skills In Learning

15 ICT Preparatory Program (~20 Hours + 5 Days)
Learning and Innovation skills Creativity & Innovation Critical Thinking & Problem-solving Communication & Collaboration ICT Preparatory Program (~50 Hours) Creative Thinking & Lateral Thinking Visual & Conceptual Thinking Systematic Innovation Tools Life and Career skills Flexibility & Adaptability Initiative & Self-direction Social & Cross-cultural Skills Productivity & Accountability Leadership & Responsibility ICT Preparatory Program (~20 Hours + 5 Days) Leadership & Communication & Personality Development ASEAN (+3) VISIT

16 21st Century skills learned through our curriculum, which is interdisciplinary, integrated, project-based, and more, include and are learned within a project-based curriculum The Global Achievement Gap : Critical Thinking and Problem Solving Collaboration across Network and Leading by Influence Agility and Adaptability Initiative and Entrepreneurialism Effective Oral and Written Communication Accessing and Analyzing Information Curiosity and Imagination

17 20th Century Classroom vs. the 21st Century Classroom
Time-based Outcome-based Focus : memorization of discrete facts Focus : what students Know, Can Do and Are Like after all the details are forgotten. Lessons focus on the lower level of Bloom’s Taxonomy-knowledge, comprehension and application. Learning is designed on upper levels of Blooms’-synthesis, analysis and evaluation (and include lower levels as curriculum is designed down from the top.) Textbook-driven Research-driven Passive learning Active Learning Learner work in isolation – classroom within 4 walls Learners work collaboratively with classmates and others around the world – the Global Classroom

18 Teacher-centered : teacher is center of attention and provider of information
Student-centered : teacher is facilitator/coach Little to no student freedom Great deal of student freedom Fragmented curriculum Integrated and Interdisciplinary curriculum Teacher is judge. No one else sees student work. Self, Peer and Other assessments. Public audience, authentic assessments. Curriculum/School is irrelevant and meaningless to the students. Curriculum is connected to students’ interests, experiences, talents and the real world. Print is the primary vehicle of learning and assessment. Performances, projects and multiple forms of media are used for learning and assessment Diversity in students is ignored. Curriculum and instruction address student diversity Literacy is the 3 R’s – reading, writing and math Multiple illiteracies of the 21st century – aligned to living and working in globalized new millennium. Factory model, based upon the needs of employers for the Industrial Age of the 19th century. Scientific management. Global model, based upon the needs of a globalized, high-tech society.

19 21 st Century Classroom

20 มาตรฐานสากลสัมพันธ์ สอดคล้อง และส่งเสริม ต่อยอดผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะผู้เรียนในศตวรรษ 21 คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.มีวินัย 4.ใฝ่เรียนรู้ 5.อยู่อย่างพอเพียง 6.มุ่งมั่นในการทำงาน 7.รักความเป็นไทย 8.มีจิตสาธารณะ 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา 4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 1.ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 2.มีภูมิรู้ 3.รู้จักใช้วิจารณญาณ 4.เป็นนักคิด 5.สามารถสื่อสารได้ 6.มีระเบียบวินัย 7.ใจกว้าง 8.รอบคอบ 9.กล้าตัดสินใจ 10.ยุติธรรม 1.เป็นเลิศวิชาการ 2.สื่อสาร 2 ภาษา 3.ล้ำหน้าความคิด 4.ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5.ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก

21 โรงเรียนมาตรฐานสากล พัฒนาเยาวชนสู่โลกยุคศตวรรษที่21
โรงเรียนมาตรฐานสากล พัฒนาเยาวชนสู่โลกยุคศตวรรษที่21 -Digital – Age Literacy -Inventive Thinking -High Productivity -Effective Communication Learn to know, Learn to be Learn to do, Learn to Live together Academic Achievements เป้าหมาย

22

23 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล
-ภาษาไทย -ภาษาอังกฤษ -คณิตศาตร์ -วิทยาศาสตร์ -สังคม -สุขศึกษา/พลศึกษา -ศิลปะ -การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระเพิ่มเติมตามจุดเน้น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาระสากล -ทฤษฎีความรู้ (Theory of knowledge - ความเรียงชั้นสูง (Extended Essay) -กิจกรรมสร้างสรรค์ (Creativity, Action,Service) -โลกศึกษา (Global Education) วิชาพื้นฐาน 8 กลุ่ม สาระฯ

24 21th Century Learning 1. CONNECT 2. CREATE 3. COLLABORATE
Digital literacy skill Communication skill Thinking skill Problem solving skill Creativity & innovation skill Interpersonal skill Teamwork Social responsibility Accountability 2. CREATE 3. COLLABORATE

25 สมศ. เตรียมจัดทำเกณฑ์ประเมินคุณภาพศิษย์ในศตวรรษที่ 21
แนวคิดบัณฑิตที่พึงประสงค์ในรูปแบบ 4×4 Model (พื้นฐาน /เพียงพอ/ทำได้) (ทันสมัย / แสวงหา/พัฒนา) (ลึก / เชื่อมโยง / อนาคต) (เฉียบ/ เชี่ยวชาญ /ตกผลึก) พื้นฐาน (Basic) ก้าวหน้า (Advanced) เชิงรุก (Proactive) เป็นเลิศ (Excellent) ความรู้ (Knowledge) มีความรู้ทั่วไป ตามวิชาชีพของคน (1) มีความทันสมัยรู้จักสืบเสาะแสวงหาความรู้อยู่เสมอ (2) มีความรู้ลึกสามารถเชื่อมโยง และบูรณาการความรู้ (3) มีความเชี่ยวชาญเข้าถึงแก่นความรู้และสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ (4) ความคิด (Thinking) สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผล (5) มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถคิดใหม่ได้อย่างทันสมัย (6) มียุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ สามารถคิดไปข้างหน้า และคิดได้เอง (7) มีความคิดรวบยอด ตกผลึกทางความคิด และสามารถ คาดการณ์อนาคตได้ (8)

26 (พื้นฐาน /เพียงพอ/ทำได้) (ทันสมัย / แสวงหา/พัฒนา)
(พื้นฐาน /เพียงพอ/ทำได้) (ทันสมัย / แสวงหา/พัฒนา) (ลึก / เชื่อมโยง / อนาคต) (เฉียบ/ เชี่ยวชาญ /ตกผลึก) ความสามารถ (Skill) สามารถปฏิบัติงานได้ตามวิชาชีพ (9) สามารถปรับปรุง พัฒนางาน และแสวงหาวิธีการใหม่ๆที่ดีขึ้น (10) สามารถสร้างงานใหม่และทำได้ด้วย (11) มีความเชี่ยวชาญ ชำนาญการ และปฏิบัติงานได้อย่างแม่นยำ (12) คุณธรรม จริยธรรม (Ethics) มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ เสียสละ มีวัฒนธรรม และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ (13) เป็นแบบอย่างที่ดี เข้าใจผู้อื่น และเข้าใจโลก (14) ส่งเสริมและชี้นำสังคม ให้ตระหนักถึง คุณธรรม จริยธรรม (15) อุทิศตนเพื่อส่วนรวม มีความกล้าหาญ ทางจริยธรรม (16)

27 สมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21 Competencies
Assessment Communication Diversity Critical Thinking Technology Continuous Improvement Planning Learning Environment Human Development and Learning Knowledge Subject matter

28 ประมวลภาพการพัฒนาทักษะการเรียนรู้
วิธีการจัดการเรียนรู้ ปัจจัยส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ -ใช้สมองเป็นฐาน วิเคราะห์/ธรรมชาติผู้เรียน ธรรมชาติของเนื้อหาวิชา นวัตกรรมการเรียนรู้ (วิจัยในชั้นเรียน) กระบวนการคิด -เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ค้นคว้าด้วยตนเอง,แก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูล -บูรณาการสู่พหุปัญญา ภาษา,ตรรกะ,คณิตศาตร์,รู้จักตนเอง,มิติสัมพันธ์,แก้ปัญหา,สร้างผลงาน -โครงงาน กระบวนการกลุ่ม,การคิด,แก้ปัญหา,ค้นหาคำตอบด้วยตนเอง -จัดการเรียนรู้ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ คิดอิสระ,เชื่อมโยงความคิดสร้างผลงานประดิษฐ์

29 ประมวลภาพการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ต่อ)
วิธีการจัดการเรียนรู้ ปัจจัยส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ -สร้างองค์ความรู้ เทคนิคการจัดการเรียนรู้ บริหารจัดการเรียนรู้ ทรัพยากร/แหล่งการเรียนรู้ เครือข่ายการเรียนรู้ การคิด,แสดงความรู้, สร้างความรู้ด้วยตนเอง -ใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน แก้ปัญหาด้วยเหตุผล,ชี้นำตนเองสร้างองค์ความรู้ผ่านการคิดและแก้ปัญหา -ค้นพบความรู้ สังเกต,คิดวิเคราะห์,สรุปข้อค้นพบ ด้วยตนเอง -ทดลอง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ -ศูนย์สัมพันธ์ทักษะ คิดสร้างสรรค์,มีเหตุผล,แก้ปัญหา,ค้นพบความถนัด/วิธีการด้วยตนเอง -บทบาทสมมุติ แก้ปัญหา,ต้ดสินใจ,ปฏิบัติตนในการดำรงชีวิต -การเรียนรู้แบบร่วมมือ การทำงานร่วมกับผู้อื่น,แก้ปัญหา,ตัดสินใจ,แสวงหาความรู้ใหม่ยอมรับ ซึ่งกันและกัน

30 รูปแบบการพัฒนาศักยภาพทักษะการเรียน ให้ประสบความสำเร็จ
หลักการพัฒนาศักยภาพทักษะการเรียน รูปแบบการพัฒนาศักยภาพทักษะ หลักการที่ สร้างแรงจูงใจในการฝึก เกิดความตระหนักในความสำคัญของทักษะการเรียน การรู้เทคนิคของแต่ละทักษะ หลักที่ การฝึกแต่ละทักษะย่อยตามลำดับ ได้รับการฝึกทักษะ การให้รู้ผลการฝึกทักษะอย่างทันที หลักที่ การให้ฝึกทักษะซ้ำอย่างต่อเนื่อง ได้รู้ผลการฝึกทักษะ หลักที่ 4 ฝึกทักษะอย่างต่อเนื่อง

31 การพัฒนาครูรูปแบบ Browser in Service
ภาพความสำเร็จของการพัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ พัฒนาตามความต้องการจำเป็น/ความสนใจ ครูมีทักษะในการ Coaching/Mentoring คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรฯ 2551 สูงขึ้น ผู้เรียนมีสมรรถนะด้าน Literacy, Numeracy, Reasoning ability เหมาะสมกับระดับชั้น ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ตามจุดเน้น สพฐ. to Question, to Search, to Construct to Communicate, to Serve

32 The 21st Century Administrator is …
5 Traits of the 21st Century Learning and Leading in the 21st Century ( 10 Tips ) National Educational Technology Standards 21st Century Leadership (Administrative Action Plan) An Active Listener A Connected Leader 3. An Authentic Conversation list 4. Inspirational and Empowering 5. A 21stCentury Learning Specialist Professional Learning networks Create conditions for Success 3. Learning Leadership 4. Learning Walks 5. Innovation and creativity 6. Model the use of technology 7. Vision - planning for tomorrow 8. Monitor social networks Digital resourse and professional leaning Celebrate success 1. visionary Leadership Digital – Age Learning Culture Excellence in Professional Practice Systemic Improvement Digital Citizenship Vision creation Identification of an instruction goal Budget and professional development Family and community involvement Technology plan Diversity and inclusion Source : - EDCompass blog >> learning and leading in the 21st century (online) - Derek Kunan(2013) 5 traits of the 21st century Administrator (online) - 21 Things for the 21st century Administrator (online)

33 21st Century Supervision
The Coach Directing Evaluating Controlling Authority Issuing orders Giving training Enforcing rules Implementing procedures Looking up to top Levels Staying above subordinates Relaying information Coordinating Coaching Supporting Stewardship Answering questions Sharing Learning Developing shared vision Reinventing work Looking out to customers Being immersed in teams Sharing information Listens a lot Asks Prevents Explores Seeks Commitment Challenges Works with Puts process first Seeks results Takers responsibility Makes contact

34 21st Century Supervision
The Coach - There are three principle themes that are repeatedly identified as central to the work of a coach Focus on Communication Invest in Problem Identification Identify an Effective Problem Solving Strategy Source : - Brad Humphrey, Jeff stokes, (1999) The 21st century Supervisor : Nine Essential Skills for Frontline Leaders (online) - Our Philosophy Service & Rate (2001) 21st century Supervision (online) - Line. Coaching (online)

35 มุ่งมั่นสู่มาตรฐานการศึกษาสากล

36 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กระบวนการในการแสวงหาองค์ความรู้ หรือ นวัตกรรมเพื่อนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตามศักยภาพและบริบทของชั้นเรียน ประเภท การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้ การวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา (ส่งเสริมการเรียนรู้)

37 เอกลักษณ์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ประเภทงานวิจัย วัตถุประสงค์การพัฒนา แนวคิด / เกี่ยวข้อง ระเบียบวิธีวิจัย 1.การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ - ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองตามถนัด สนใจ และต้องการโดยใช้การวิจัย - ฝึกการคิด การวางแผน ดำเนินงานหาเหตุผลตอบปัญหา โดยผสมผสานองค์ความรู้แบบบูรณาการเพื่อให้เกิดประสบการณ์เรียนรู้จากสถานการณ์จริง -การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participation Learning) - การสร้างความรู้ (Constructivism) การวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงสำรวจ การสังเคราะห์งานวิจัย 2. การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้ -มุ่งให้ผู้สอน ทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ - ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการจากการเผชิญสภาพการณ์จริง ปรับประยุกต์มวล ประสบการณ์มาแก้ปัญหา พัฒนาผู้เรียน Cognitive Domain,Psychomotor Domain,Affective Domain การจัดการเรียนรู้ นวัตกรรมการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ กระบวนทัศน์ใหม่ของปฐมวัย,การศึกษาขั้นพื้นฐาน - การวิจัยในชั้นเรียน หรือการวิจัยปฏิบัติการ

38 เอกลักษณ์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (ต่อ)
ประเภทงานวิจัย วัตถุประสงค์การพัฒนา แนวคิด / เกี่ยวข้อง ระเบียบวิธีวิจัย 1.การวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มุ่งให้ผู้บริหารทำวิจัย และนำผลการวิจัยมาตัดสินใจ จัดทำนโยบายและวางแผนบริหารจัดการสถานศึกษา เป็นองค์กรคุณภาพจัดการศึกษา และ แหล่งสร้างเสริมประสบการณ์เรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ - ทฤษฎีระบบ การบริหารจัดการแนวคิดการจัดการคุณภาพ การบริหารจัดการสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงประมวลผล การวิจัยเชิงสัมพันธ์ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยและพัฒนา การวิจัยอนาคต

39 การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้ (การวิจัยในชั้นเรียน) ตามจุดเน้นการพัฒนาโรงเรียนอนุบาลสามเสน
ลักษณะเด่น / จุดเน้นสถานศึกษา วิธีการจัดการเรียนรู้ คุณลักษณะ / สมรรถนะนักเรียนต้องการแก้ปัญหาหรือพัฒนา ค้นหานวัตกรรม ผลการพัฒนา ร.ร.แกนนำปฏิรูปการเรียนรู้ ร.ร.ต้นแบบปฐมวัน ร.ร.ร่วมโครงการสู่มาตรฐานสากล ห้องเรียนความสามารถพิเศษคณิต / วิทย์ เป็นภาษาอังกฤษ แกนนำพัฒนารูปแบบเทคนิคประเมินก่อนประถมศึกษา (ตามสภาพจริง) การเรียนรู้เชิงปฏิบัติ ( Active Learning) การเรียนรู้แบบโครงการ ( Project Approach) การเรียนรู้พัฒนาพหุปัญญา (Multiple Intelligent) การเรียนภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Language) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) นวัตกรรมการศึกษา 1.ผู้ใช้ประโยชน์โดยตรง 1.1 สื่อสำหรับครู 1.2 สื่อสำหรับนักเรียน 2. ลักษณะของนวัตกรรม มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้การวิจัยในชั้นเรียน คุณภาพนักเรียน สถานศึกษาตามข้อกำหนดตัวชี้วัดคุณภาพ ตามมาตรการศึกษาจุดเน้นสถานศึกษา มาตรฐานการจัดการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานคุณลักษณะเด็กไทยอาเซียน

40 มาตรฐานการศึกษาสากล (ศตวรรษที่ 21)
การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้ (การวิจัยในชั้นเรียน)ตามจุดเน้นการพัฒนาโรงเรียนอนุบาลสามเสน (ต่อ) ลักษณะเด่น / จุดเน้นสถานศึกษา วิธีการจัดการเรียนรู้ คุณลักษณะ / สมรรถนะนักเรียนต้องการแก้ปัญหาหรือพัฒนา ค้นหานวัตกรรม ผลการพัฒนา การทดลอง ( Experiment) การแก้ปัญหา ( Problem – based Learning) - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) การเรียนรู้ แบบสรรคนิยม (Constructivism Learning) ฯลฯ 2.1 เทคนิค,วิธีการ หรือกิจกรรม 2.2 สื่อการเรียนการสอน ศักยภาพ / ความสามารถ แข่งขัน ความร่วมมือทางวิชาการยกระดับคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา ความเป็นเอกลักษณ์ของการจัดการศึกษาประชาคมอาเซียนสากล มาตรฐานการศึกษาสากล (ศตวรรษที่ 21)

41 Action Research Model What is Action Research ?
Teachers and principals work best on problems they have identified themselves Teachers and principals become more effective when encouraged to examine and assess their own work and the consider ways of working differently Teachers principals help each other by working collaboratively Working with colleagues helps teachers and principals in their professional development Steps in Action Research 1. Identify – Problem, Question, Baseline Data, and Professional Development 2. Plan – The Intervention, Assessment, and Time to Assess 3. Collect Data 4. Analyze Data 5. Reflect – What was learned, what will be improved, and making improvements


ดาวน์โหลด ppt รศ.ดร.สจีวรรณ ทรรพวสุ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สู่สากล ที่มา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google